โพสต์แนะนำ

ประชาไท Prachatai.com

ประชาไท Prachatai.com พท.-ปชป จัดประชุมแก้ไขข้อบังคับพรรคฯ ส่วนรัฐบาลคสช. เตรียมฉีดเงินตำบลละ 5 แสน คพศ. ขอ ตร.เรียกตั...

ซิตี้แบงก์ ให้คุณสมัครบัตรเครดิต citibank ออนไลน์ ด้วยวิธีสมัครบัตรเครดิตง่ายๆ รู้ผลอนุมัตทันใจภายใน 5 วัน อยากทำบัตรเครดิตซิตี้แบงก์ สมัครออนไลน์ได้ทันทีที่นี่.

วันอังคารที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2554

ประชาไท | Prachatai3.info

ประชาไท | Prachatai3.info

Link to ประชาไท

บทความแปล: สงครามไฮเทคเพื่อพิทักษ์สถาบันเก่าแก่จากคำดูหมิ่น

Posted: 11 Oct 2011 12:33 PM PDT

โทมัส ฟูลเลอร์ ผู้สื่อข่าวหนังสือพิมพ์นิวยอร์กไทมส์ พาผู้อ่านเข้าไปดูเบื้องหลัง “วอร์รูม” ที่ใช้บัญชาการในการจัดการ “เว็บหมิ่น” ของประเทศไทย ในบทความแปล “สงครามไฮเทคเพื่อพิทักษ์สถาบันเก่าแก่จากคำดูหมิ่น”

ห้องอันปราศจากหน้าต่างแม้แต่บานเดียวแห่งนั้นตั้งอยู่ ณ สุดทางเดินอันสว่างไปด้วยไฟจากหลอดนีออกและซับซ้อนราวกับเขาวงกตภายในศูนย์ราชการขนาดยักษ์แห่งหนึ่ง ภายในห้อง ผู้เชี่ยวชาญทางคอมพิวเตอร์หลายชีวิตกำลังนั่งไล่ล่าหารูปภาพ บทความ ข้อความในเฟซบุค และสิ่งใดก็ตามในโลกอินเตอร์เน็ตที่อาจมีเนื้อหาดูหมิ่นพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 และพระบรมวงศานุวงศ์

ผู้เชี่ยวชาญเหล่านี้เป็นส่วนหนึ่งขององค์การที่มีชื่อว่า สำนักงานป้องกันและปราบปรามการกระทำผิดทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งรัฐบาลชุดใหม่ที่เพิ่งได้ขึ้นสู่อำนาจเมื่อเดือนกรกฎาคมที่ผ่านมา เลือกที่จะเรียกหน่วยงานนี้อย่างสั้นๆว่า “วอร์รูม” และ “วอร์รูม” แห่งนี้เองคือศูนย์บัญชาการแห่งปฏิบัติการขนานใหญ่และเฉียบขาดอันมีจุดมุ่งหมายเพื่อขจัดข้อความดูหมิ่นองค์พระมหากษัตริย์ให้หมดสิ้นจากโลกอินเตอร์เน็ต

หน่วยราชการยืนยันว่าจะขยายผลการดำเนินงานของปฏิบัติการล้อมปราบทางอินเตอร์เน็ตครั้งนี้ต่อไปให้เข้มข้นยิ่งขึ้นเรื่อยๆ โดยการปฏิบัติงานนั้นดำเนินการโดยทีมผู้เชี่ยวชาญทางคอมพิวเตอร์จำนวน 10 นายเหล่านี้ ภายใต้การบังคับการของนายสุรชัย นิลแสง ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง “สารวัตรไซเบอร์”

“เรามุ่งมั่นต่อหน้าที่ของเราตรงนี้ เพราะเรารักและเทิดทูนบูชาสถาบันพระมหากษัตริย์” นายสุรชัยกล่าวระหว่างการให้สัมภาษณ์เป็นเวลาสองชั่วโมง นายสุรชัยและผู้ปฏิบัติหน้าที่คนอื่นๆยังได้พานักข่าวไปชมส่วนต่างๆใน “วอร์รูม” รวมทั้งบริเวณสำหรับเก็บคอมพิวเตอร์ซึ่งทางหน่วยงานได้ยึดมาจากผู้ต้องสงสัยที่ถูกกล่าวหาว่ากระทำการดูหมิ่นสถาบันพระมหากษัตริย์ และนี่ถือเป็นครั้งแรกที่มีผู้สื่อข่าวเข้ามาเยี่ยมชมในศูนย์ปฏิบัติการแห่งนี้

ไม่มีการอนุญาตให้บันทึกภาพแต่อย่างใด

การเยี่ยมชมครั้งนี้ได้แสดงให้เห็นระดับความใหญ่โตของศึกออนไลน์ระหว่างรัฐบาลไทยและบรรดาผู้คิดต่างในประเด็นเกี่ยวกับสถาบันพระมหากษัตริย์ และก็ได้แสดงถึงความคลุมเครือของมาตรฐานที่ใช้กำหนดว่า ข้อความหรือการกระทำใดบ้างที่ถือได้ว่าเป็นการดูหมิ่นสถาบันฯกันแน่ ตามที่มีผู้ที่ไม่เห็นด้วยกับปฏิบัติการดังกล่าวในประเทศไทยได้แสดงความเห็นว่า การไล่ล่าความผิดในข้อหาหมิ่นพระบรมเดชานุภาพเช่นนี้กำลังละเมิดสิทธิของพลเมือง

รัฐบาลในหลายประเทศ โดยเฉพาะในจีนและสิงคโปร์ ต่างก็พยายามควบคุมข้อมูลในอินเตอร์เน็ตเช่นกัน แต่ไม่มีที่ใดที่มีการควบคุมอินเตอร์อย่างออกนอกหน้าและตะบี้ตะบันแบบในประเทศไทย

ทีมผู้เชี่ยวชาญในวอร์รูมแห่งนี้ได้ปิดกั้นเว็บเพจเป็นจำนวนถึง 70,000 เพจในเวลาเพียง 4 ปี โดยส่วนใหญ่ – หรือประมาณ 60,000 เพจ – ถูกบล็อกด้วยข้อหาดูหมิ่นสถาบันพระมหากษัตริย์ ตามที่เปิดเผยโดยนายสุรชัย (เว็บเพจอื่นๆส่วนมากถูกบล็อกคด้วยข้อหาอนาจาร)

นายสุรชัยยังได้อธิบายด้วยว่า ทุกครั้งที่จะมีการบล็อกหน้าเว็บ หน่วยงานของเขาจะต้องขอคำสั่งจากศาลก่อนเสมอ และศาลก็ไม่เคยปฏิเสธที่จะออกคำสั่งในการบล็อกเว็บเหล่านี้เลยแม้แต่ครั้งเดียว

เนื่องจากการอภิปรายประเด็นเกี่ยวกับสถาบันพระมหากษัตริย์ยังเป็นสิ่งต้องห้ามในประเทศไทย และเป็นเรื่องที่คุยกันได้แต่ในระดับหลบๆซ่อนๆ จึงเป็นเรื่องยากที่จะเข้าใจว่าจุดประสงค์ของข้อความโจมตีพระบรมวงศานุวงศ์เหล่านั้นคืออะไรกันแน่ ไม่เคยมีการประท้วงในที่สาธารณะต่อองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเลยตลอดเวลา 60 ปีที่พระองค์ทรงครองราชย์ แม้แต่ผู้ประท้วงต่อต้านอำนาจในสังคมที่แข็งกร้าวที่สุดก็ยังไม่เรียกตนเองว่าเป็นผู้นิยมสาธารณรัฐ

อย่างไรก็ตาม อินเตอร์เน็ต ก็ได้กลายเป็นแนวปราการที่ป้องกันการดูหมิ่นเหยียดหยามสถาบัน ที่กำลังเผชิญหน้ากับการไร้ความยำเกรงและการออกนอกกรอบของคนที่เกิดมาในยุคสมัยของเฟซบุ๊ก

ประชาชนไทยหลายคนอาจจะมีความเกรงกลัวมากเกินกว่าจะกบฏต่อปูชนียวาทกรรมหลักนี้ในที่สาธารณะ แต่พวกเขาสามารถเลือกที่จะแสดงข้อความจาบจ้วงต่อสถาบันมหาพระมหากษัตริย์อย่างไม่คะนามือได้ในโลกอินเตอร์เน็ต โดยอาศัยความนิรนามของอินเตอร์เน็ตนั่นเอง

สุรชัยกล่าวว่า จำนวนเว็บไซต์ที่มีเนื้อหาหมิ่นสถาบัน เพิ่มขึ้นอย่างชัดเจนหลังการรัฐประหารในเดือนกันยายน พ.ศ. 2549 การรัฐประหารดังกล่าวก่อให้เกิดความแตกแยกในสังคมไทยอย่างชัดเจน และยังเป็นจุกำเนิดของคนเสื้อแดง ที่มีจุดยืนต่อต้านการแทรกแซงของทหารในการเมือง และสนับสนุนอดีตนายกฯ ทักษิณ ชินวัตร

สำหรับบุคคลภายนอกสังคมไทยแล้ว ประเทศไทยดูเป็นประเทศที่รักสนุกและไม่เข้มงวด เป็นประเทศที่นิติรัฐสามารถเอนอ่อนได้ดังต้นอ้อในสายลม แต่สถาบันพระมหากษัตริย์ – หรือเรียกสั้นๆโดยคนไทยว่า “สถาบัน” – กลับเป็นเสาหินตั้งตระหง่านอยู่เหนือนิสัยใจคอแบบ “อะไรก็ได้” ของสังคมไทย คนไทยหลายคนกลายเป็นขึงขังขึ้นมาทันทีในเรื่องการพิทักษ์ไว้ซึ่งพระบารมีแห่งองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

หลายคนกังวลใจต่อพระพลานามัยของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว โดยพระองค์จะทรงมีพระชนมายุถึง 84 พรรษาในเดือนธันวาคมที่จะมาถึงนี้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงประทับ ณ โรงพยาบาลศิริราชมาเป็นเวลาสองปีติดต่อกันแล้ว และพระองค์ก็เสด็จออกสู่โลกภายนอกให้สาธารณชนได้เห็นน้อยลง

กฏหมายหมิ่นพระบรมเดชานุภาพสามารถให้โทษจำคุกได้ถึง 15 ปีต่อผู้ที่ “หมิ่นประมาท ดูหมิ่น หรือแสดงความอาฆาตมาดร้ายพระมหากษัตริย์ พระราชินี รัชทายาท หรือผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์” นอกจากนี้ พระราชบัญญัติการกระทำผิดทางคอมพิวเตอร์ซึ่งออกในปี 2550 โดยรัฐบาลที่แต่งตั้งโดยคณะรัฐประหารอีกต่อหนึ่ง ก็คาดโทษจำคุกอีก 5 ปีสำหรับการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร “โดยประการที่น่าจะเกิดความเสียหายต่อความมั่นคงของประเทศหรือก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน”

นายสุรชัยเผยว่าบางกรณีก็ตัดสินได้ง่ายว่าหมิ่นพระบรมเดชานุภาพแน่นอน เช่น เขาไม่เคยลังเลที่จะบล๊อกเว็บเพจใดก็ตามที่มีรูปเท้าวางอยู่เหนือพระเศียรของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว อันถือว่าเป็นการดูหมิ่นรุนแรงในวัฒนธรรมไทย นายสุรชัยยังอธิบายเพิ่มเติมว่า การใช้สรรพนามที่ไม่เหมาะสมนำหน้าพระนามขององค์พระเจ้าอยู่หัวก็ถือเป็นความผิดที่เห็นได้ชัดเช่นกัน นับว่าเป็นความซ่อนเงื่อนหนึ่งของภาษาไทยที่ไม่อาจแปลให้เข้าใจได้ (สำหรับผู้ที่ไม่คุ้นเคยกับภาษาไทย)

อย่างไรก็ตาม การไล่ล่าการหมิ่นพระบรมเดชนุภาพก็ซับซ้อนได้มากกว่านั้น “พวกนี้ชอบโพสต์คำเปรียบเปรยน่ะ” นายสุรชัยกล่าวเกี่ยวกับผู้ต้องสงสัยที่กระทำการหมิ่น “พวกเขามีรหัสลับใช้กันเอง”

รัฐบาลได้เพิ่มงบประมาณวอร์รูมแห่งนี้แล้ว และในเร็วๆนี้จะมีการเพิ่มระดับผู้ปฏิบัติงานจนสามารถดำเนินการได้ตลอด 24 ชั่วโมง ผู้เชี่ยวชาญในวอร์รูมเปิดเผยว่า ข้อความหมิ่นพระบรมเดชานุภาพส่วนใหญ่โพสต์กันในเวลาหลังเที่ยงคืนและช่วงเวลาไม่กี่ชั่วโมงก่อนรุ่งสาง

อย่างไรก็ตาม ปฏิบัติการปราบปรามข้อความหมิ่นฯเหล่านี้ได้ทำให้ประชาชนหลายคนในประเทศไทยวิตกกังวล ซึ่งพวกเขามองว่าการกระทำเช่นนี้ไม่ต่างจากการล่าแม่มด นอกจากนี้ยังมีบรรดานักเขียน นักวิชาการ และศิลปินกลุ่มต่างๆที่ชี้ว่า กฏหมายหมิ่นพระบรมเดชานุภาพสามารถถูกใช้เป็นเครื่องมืออย่างผิดๆได้

ในเดือนสิงหาคมที่ผ่านมา คณาจารย์ทั้งไทยและต่างชาติจำนวน 112 คนได้ยื่นจดหมายเปิดผนึกที่มีเนื้อหาชี้แจงว่า การกวาดล้างทางอินเตอร์เน็ตที่กำลังดำรงอยู่เป็นภัยต่อ “อนาคตประชาธิปไตยในประเทศไทย” แก่นายกรัฐมนตรี ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร

หนังสือพิมพ์บางกอกโพสต์ ใช้พื้นที่บทบรรณาธิการเมื่อเร็วๆ นี้แสดงความเห็นว่า พ.ร.บ. การกระทำผิดทางคอมพิวเตอร์ กำลังถูกใช้อย่างไร้การควบคุมและพิจารณา โดยวิจารณ์ไว้ว่า พ.ร.บ. ดังกล่าวได้ถูกใช้เป็นเครื่องมือปิดหรือบล๊อกเว็บไซต์นับหมื่นๆเว็บโดยปราศจากหลักฐานที่ชี้ชัดถึงการกระทำผิด และแทบจะเป็นไปไม่ได้เลยที่เว็บไซต์เหล่านั้นทั้งหมดจะทำผิดข้อหาหมิ่นพระบรมเดชานุภาพจริง

มีกรณีหนึ่งที่ได้รับความสนใจมากเป็นพิเศษ จิรนุช เปรมชัยพร ผู้ดูแลเว็บไซต์ “ประชาไท” ได้ถูกดำเนินคดีเนื่องมาจากบางข้อความที่โพสต์ในเว็บไซต์แห่งนั้นมีเนื้อหาที่ถูกกล่าวหาว่าหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ จีรนุช อธิบายตนเองต่อศาลว่า ในวันหนึ่งๆนั้นเธอต้องอ่านข้อความจำนวนเป็นพันๆ ที่โพสต์ในเว็บไซต์และจัดการลบข้อความที่มีลักษณะหมิ่นฯเมื่อเธอพบเจอเข้า อย่างไรก็ตาม ฝ่ายผู้ฟ้องร้องกลับบอกว่า จีรนุชลบความเห็นเหล่านั้นไม่เร็วพอ

การพิจารณาคดีครั้งนี้ได้รับความสนใจจากบริษัทที่ทำธุรกิจในโลกอินเตอร์เน็ตยักษ์ใหญ่ของโลกอย่างGoogle, Yahoo และ Ebay ล่าสุด Asia Internet Coalition อันเป็นสมาคมร่วมของอุตสาหกรรมธุรกิจในอินเตอร์เน็ตซึ่งก่อตั้งร่วมกันโดยบริษัทเหล่านั้น ได้ออกแถลงการณ์เมื่อเดือนที่แล้วว่า การบังคับใช้กฏหมายของ พรบ. คอมพิวเตอร์ดังกล่าว อาจจะส่งผลให้บริษัทที่ให้บริการทางอินเตอร์เน็ตปฏิเสธที่จะทำธุรกิจในประเทศไทยได้

“เมื่อมีการนำเอาสื่อกลางของการใช้อินเตอร์เน็ตมารับความผิดชอบแทนผู้ใช้อินเตอร์เน็ตเช่นนี้ กรณี (จีรนุช) อาจถือได้ว่าเป็นการตั้งตัวอย่าง (การดำเนินคดี) ที่อันตรายและสามารถมีผลต่อเศรษฐกิจระยะยาวของประเทศ” สมาคมกล่าวไว้ในแถลงการณ์

ภายในวอร์รูม ผู้เชี่ยวชาญกล่าวว่าพวกเขากำลังถูกกดดันจากทุกฝ่าย สำนักงานของพวกเขาได้รับการร้องเรียนทางอีเมลล์ประมาณ 20-100 ฉบับต่อวัน อีเมลล์เหล่านั้นแบ่งฝ่ายกันดังเช่นสังคมไทย บ้างก็สนับสนุน บ้างก็ต่อต้านปฏิบัติการของวอร์รูม

ผู้สนับสนุนสถาบันพระมหากษัตริย์บางกลุ่มก็มีจุดยืนที่สุดโต่ง เมื่อต้นปีที่ผ่านมานี้ นางฟ้างาย คำอโศก สตรีผู้หนึ่งจากประเทศไทยภาคเหนือ ได้ล่ารายชื่อจำนวน 130,000 รายชื่อเพื่อสนับสนุนให้ยกเลิกระบอบประชาธิปไตยในปัจจุบันของประเทศไทย และแทนที่ด้วยรัฐบาลอันประกอบด้วย “ความดีและคุณธรรม” ที่พระราชทานโดยพระมหากษัตริย์แทน
ฟ้างาย เปี่ยมไปด้วยอารมณ์ความรู้สึกเมื่อพูดคุยเกี่ยวกับการรณรงค์ครั้งนี้ของเธอ “เราได้เห็นว่าในหลวงท่านทรงเสียสละเพื่อชาวเรา” เธอกล่าวในการสัมภาษณ์ “เรามีความรักในจิตวิญญาณของเราแด่พระองค์ท่าน พระองค์ทรงเป็นเหมือนเทพองค์หนึ่ง”

อย่างไรก็ตาม ในอีกฟากหนึ่งคือการขานตอบกฏหมายอันจำกัดสิทธินี้ด้วยการเสียดสี ศูนย์รับเรื่องร้องเรียนการกระทำผิดทางอินเตอร์เน็ต 24 ชั่วโมงที่ก่อตั้งโดยรัฐบาลในปี 2552 ได้รับการโทรเข้ามาร้องเรียนหลายสิบครั้งต่อวัน
แต่ปรากฏว่าการโทรเหล่านี้หลายครั้งก็ไม่ได้จริงจังแต่อย่างใด

“90% ที่โทรเข้ามาคือโทรมาแกล้งเล่น” ณัฐ พยงค์ศรี ผู้เชี่ยวชาญคอมพิวเตอร์คนหนึ่งในห้องกล่าวกับผู้สื่อข่าว
นายสุรชัย ผู้ทำหน้าที่เป็นหัวหน้าของทีมในวอร์รูม เปิดเผยว่าเขาต้องถามหาคำชี้แนะจากผู้บังคับบัญชาอีกต่อหนึ่งเสมอๆ โดยนายสุรชัยใช้โปรแกรมชื่อว่า “แมงมุม” ที่สร้างขึ้นมาสำหรับการนี้โดยเฉพาะในการท่องไปตามโลกอินเตอร์เน็ตและแจ้งให้ทราบถึงเนื้อหาที่อาจเข้าข่ายดูหมิ่นเบื้องสูง จากนั้น เขาจึงปรึกษากับหน่วยทหารพิเศษที่ประจำการ ณ พระราชฐานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เพื่อพิจารณาความร้ายแรงของแต่ละเนื้อหา

“เมื่อผู้บังคับบัญชาเหล่านี้พิจารณาแล้วตัดสินใจให้บล็อก เราก็ต้องทำการบล็อกตามคำสั่ง” นายสุรชัยกล่าว

ตรงบริเวณทางเข้าวอร์รูมแห่งนี้ นายสุรชัยได้นำเอารูปเคารพที่แกะสลักไม้เป็นรูปนักรบจีนโบราณมาตั้งไว้ รูปเคารพนั้นทำท่ากวัดแกว่งง้าวเป็นอาวุธ

รูปเคารพดังกล่าวคือ กวนอู เทพอันเป็นตัวละครหนึ่งในวรรณคดีจีน “สามก๊ก” เสมือนเป็นเครื่องแสดงออกถึงความตั้งใจที่จะปกปักรักษาไว้ซึ่งสถาบันพระมหากษัตริย์ของนายสุรชัย เขาอธิบายว่า กวนอู คือเทพแห่งความซื่อตรงและซื่อสัตย์ และยังเป็นสัญลักษณ์ของนักรบที่ห้อมล้อมไปด้วยสังคมอันแตกแยกอีกด้วย

“หลายคนปฏิเสธที่จะมารับหน้าที่ตรงนี้” นายสุรชัยกล่าว “ไม่ว่าจะถูกหรือผิด คนที่โดนว่าทั้งขึ้นทั้งล่องก็คือพวกเราอยู่ดี”
 

สมัครรับข่าวความเคลื่อนไหวจากประชาไท ผ่านทางอีเมล ดูรายละเอียดที่ http://groups.google.com/group/prachatai-newspaper

บทความแปล: สงครามไฮเทคเพื่อพิทักษ์สถาบันเก่าแก่จากคำดูหมิ่น

Posted: 11 Oct 2011 12:33 PM PDT

โทมัส ฟูลเลอร์ ผู้สื่อข่าวหนังสือพิมพ์นิวยอร์กไทมส์ พาผู้อ่านเข้าไปดูเบื้องหลัง “วอร์รูม” ที่ใช้บัญชาการในการจัดการ “เว็บหมิ่น” ของประเทศไทย ในบทความแปล “สงครามไฮเทคเพื่อพิทักษ์สถาบันเก่าแก่จากคำดูหมิ่น”

ห้องอันปราศจากหน้าต่างแม้แต่บานเดียวแห่งนั้นตั้งอยู่ ณ สุดทางเดินอันสว่างไปด้วยไฟจากหลอดนีออกและซับซ้อนราวกับเขาวงกตภายในศูนย์ราชการขนาดยักษ์แห่งหนึ่ง ภายในห้อง ผู้เชี่ยวชาญทางคอมพิวเตอร์หลายชีวิตกำลังนั่งไล่ล่าหารูปภาพ บทความ ข้อความในเฟซบุค และสิ่งใดก็ตามในโลกอินเตอร์เน็ตที่อาจมีเนื้อหาดูหมิ่นพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 และพระบรมวงศานุวงศ์

ผู้เชี่ยวชาญเหล่านี้เป็นส่วนหนึ่งขององค์การที่มีชื่อว่า สำนักงานป้องกันและปราบปรามการกระทำผิดทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งรัฐบาลชุดใหม่ที่เพิ่งได้ขึ้นสู่อำนาจเมื่อเดือนกรกฎาคมที่ผ่านมา เลือกที่จะเรียกหน่วยงานนี้อย่างสั้นๆว่า “วอร์รูม” และ “วอร์รูม” แห่งนี้เองคือศูนย์บัญชาการแห่งปฏิบัติการขนานใหญ่และเฉียบขาดอันมีจุดมุ่งหมายเพื่อขจัดข้อความดูหมิ่นองค์พระมหากษัตริย์ให้หมดสิ้นจากโลกอินเตอร์เน็ต

หน่วยราชการยืนยันว่าจะขยายผลการดำเนินงานของปฏิบัติการล้อมปราบทางอินเตอร์เน็ตครั้งนี้ต่อไปให้เข้มข้นยิ่งขึ้นเรื่อยๆ โดยการปฏิบัติงานนั้นดำเนินการโดยทีมผู้เชี่ยวชาญทางคอมพิวเตอร์จำนวน 10 นายเหล่านี้ ภายใต้การบังคับการของนายสุรชัย นิลแสง ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง “สารวัตรไซเบอร์”

“เรามุ่งมั่นต่อหน้าที่ของเราตรงนี้ เพราะเรารักและเทิดทูนบูชาสถาบันพระมหากษัตริย์” นายสุรชัยกล่าวระหว่างการให้สัมภาษณ์เป็นเวลาสองชั่วโมง นายสุรชัยและผู้ปฏิบัติหน้าที่คนอื่นๆยังได้พานักข่าวไปชมส่วนต่างๆใน “วอร์รูม” รวมทั้งบริเวณสำหรับเก็บคอมพิวเตอร์ซึ่งทางหน่วยงานได้ยึดมาจากผู้ต้องสงสัยที่ถูกกล่าวหาว่ากระทำการดูหมิ่นสถาบันพระมหากษัตริย์ และนี่ถือเป็นครั้งแรกที่มีผู้สื่อข่าวเข้ามาเยี่ยมชมในศูนย์ปฏิบัติการแห่งนี้
ไม่มีการอนุญาตให้บันทึกภาพแต่อย่างใด

การเยี่ยมชมครั้งนี้ได้แสดงให้เห็นระดับความใหญ่โตของศึกออนไลน์ระหว่างรัฐบาลไทยและบรรดาผู้คิดต่างในประเด็นเกี่ยวกับสถาบันพระมหากษัตริย์ และก็ได้แสดงถึงความคลุมเครือของมาตรฐานที่ใช้กำหนดว่า ข้อความหรือการกระทำใดบ้างที่ถือได้ว่าเป็นการดูหมิ่นสถาบันฯกันแน่ ตามที่มีผู้ที่ไม่เห็นด้วยกับปฏิบัติการดังกล่าวในประเทศไทยได้แสดงความเห็นว่า การไล่ล่าความผิดในข้อหาหมิ่นพระบรมเดชานุภาพเช่นนี้กำลังละเมิดสิทธิของพลเมือง
รัฐบาลในหลายประเทศ โดยเฉพาะในจีนและสิงคโปร์ ต่างก็พยายามควบคุมข้อมูลในอินเตอร์เน็ตเช่นกัน แต่ไม่มีที่ใดที่มีการควบคุมอินเตอร์อย่างออกนอกหน้าและตะบี้ตะบันแบบในประเทศไทย

ทีมผู้เชี่ยวชาญในวอร์รูมแห่งนี้ได้ปิดกั้นเว็บเพจเป็นจำนวนถึง 70,000 เพจในเวลาเพียง 4 ปี โดยส่วนใหญ่ – หรือประมาณ 60,000 เพจ – ถูกบล็อกด้วยข้อหาดูหมิ่นสถาบันพระมหากษัตริย์ ตามที่เปิดเผยโดยนายสุรชัย (เว็บเพจอื่นๆส่วนมากถูกบล็อกคด้วยข้อหาอนาจาร) นายสุรชัยยังได้อธิบายด้วยว่า ทุกครั้งที่จะมีการบล็อกหน้าเว็บ หน่วยงานของเขาจะต้องขอคำสั่งจากศาลก่อนเสมอ และศาลก็ไม่เคยปฏิเสธที่จะออกคำสั่งในการบล็อกเว็บเหล่านี้เลยแม้แต่ครั้งเดียว
เนื่องจากการอภิปรายประเด็นเกี่ยวกับสถาบันพระมหากษัตริย์ยังเป็นสิ่งต้องห้ามในประเทศไทย และเป็นเรื่องที่คุยกันได้แต่ในระดับหลบๆซ่อนๆ จึงเป็นเรื่องยากที่จะเข้าใจว่าจุดประสงค์ของข้อความโจมตีพระบรมวงศานุวงศ์เหล่านั้นคืออะไรกันแน่ ไม่เคยมีการประท้วงในที่สาธารณะต่อองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเลยตลอดเวลา 60 ปีที่พระองค์ทรงครองราชย์ แม้แต่ผู้ประท้วงต่อต้านอำนาจในสังคมที่แข็งกร้าวที่สุดก็ยังไม่เรียกตนเองว่าเป็นผู้นิยมสาธารณรัฐ

อย่างไรก็ตาม อินเตอร์เน็ต ก็ได้กลายเป็นแนวปราการที่ป้องกันการดูหมิ่นเหยียดหยามสถาบัน ที่กำลังเผชิญหน้ากับการไร้ความยำเกรงและการออกนอกกรอบของคนที่เกิดมาในยุคสมัยของเฟซบุ๊ก

ประชาชนไทยหลายคนอาจจะมีความเกรงกลัวมากเกินกว่าจะกบฏต่อปูชนียวาทกรรมหลักนี้ในที่สาธารณะ แต่พวกเขาสามารถเลือกที่จะแสดงข้อความจาบจ้วงต่อสถาบันมหาพระมหากษัตริย์อย่างไม่คะนามือได้ในโลกอินเตอร์เน็ต โดยอาศัยความนิรนามของอินเตอร์เน็ตนั่นเอง

สุรชัยกล่าวว่า จำนวนเว็บไซต์ที่มีเนื้อหาหมิ่นสถาบัน เพิ่มขึ้นอย่างชัดเจนหลังการรัฐประหารในเดือนกันยายน พ.ศ. 2549 การรัฐประหารดังกล่าวก่อให้เกิดความแตกแยกในสังคมไทยอย่างชัดเจน และยังเป็นจุกำเนิดของคนเสื้อแดง ที่มีจุดยืนต่อต้านการแทรกแซงของทหารในการเมือง และสนับสนุนอดีตนายกฯ ทักษิณ ชินวัตร

สำหรับบุคคลภายนอกสังคมไทยแล้ว ประเทศไทยดูเป็นประเทศที่รักสนุกและไม่เข้มงวด เป็นประเทศที่นิติรัฐสามารถเอนอ่อนได้ดังต้นอ้อในสายลม แต่สถาบันพระมหากษัตริย์ – หรือเรียกสั้นๆโดยคนไทยว่า “สถาบัน” – กลับเป็นเสาหินตั้งตระหง่านอยู่เหนือนิสัยใจคอแบบ “อะไรก็ได้” ของสังคมไทย คนไทยหลายคนกลายเป็นขึงขังขึ้นมาทันทีในเรื่องการพิทักษ์ไว้ซึ่งพระบารมีแห่งองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

หลายคนกังวลใจต่อพระพลานามัยของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว โดยพระองค์จะทรงมีพระชนมายุถึง 84 พรรษาในเดือนธันวาคมที่จะมาถึงนี้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงประทับ ณ โรงพยาบาลศิริราชมาเป็นเวลาสองปีติดต่อกันแล้ว และพระองค์ก็เสด็จออกสู่โลกภายนอกให้สาธารณชนได้เห็นน้อยลง

กฏหมายหมิ่นพระบรมเดชานุภาพสามารถให้โทษจำคุกได้ถึง 15 ปีต่อผู้ที่ “หมิ่นประมาท ดูหมิ่น หรือแสดงความอาฆาตมาดร้ายพระมหากษัตริย์ พระราชินี รัชทายาท หรือผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์” นอกจากนี้ พระราชบัญญัติการกระทำผิดทางคอมพิวเตอร์ซึ่งออกในปี 2550 โดยรัฐบาลที่แต่งตั้งโดยคณะรัฐประหารอีกต่อหนึ่ง ก็คาดโทษจำคุกอีก 5 ปีสำหรับการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร “โดยประการที่น่าจะเกิดความเสียหายต่อความมั่นคงของประเทศหรือก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน”
นายสุรชัยเผยว่าบางกรณีก็ตัดสินได้ง่ายว่าหมิ่นพระบรมเดชานุภาพแน่นอน เช่น เขาไม่เคยลังเลที่จะบล๊อกเว็บเพจใดก็ตามที่มีรูปเท้าวางอยู่เหนือพระเศียรของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว อันถือว่าเป็นการดูหมิ่นรุนแรงในวัฒนธรรมไทย นายสุรชัยยังอธิบายเพิ่มเติมว่า การใช้สรรพนามที่ไม่เหมาะสมนำหน้าพระนามขององค์พระเจ้าอยู่หัวก็ถือเป็นความผิดที่เห็นได้ชัดเช่นกัน นับว่าเป็นความซ่อนเงื่อนหนึ่งของภาษาไทยที่ไม่อาจแปลให้เข้าใจได้ (สำหรับผู้ที่ไม่คุ้นเคยกับภาษาไทย)
อย่างไรก็ตาม การไล่ล่าการหมิ่นพระบรมเดชนุภาพก็ซับซ้อนได้มากกว่านั้น “พวกนี้ชอบโพสต์คำเปรียบเปรยน่ะ” นายสุรชัยกล่าวเกี่ยวกับผู้ต้องสงสัยที่กระทำการหมิ่น “พวกเขามีรหัสลับใช้กันเอง”

รัฐบาลได้เพิ่มงบประมาณวอร์รูมแห่งนี้แล้ว และในเร็วๆนี้จะมีการเพิ่มระดับผู้ปฏิบัติงานจนสามารถดำเนินการได้ตลอด 24 ชั่วโมง ผู้เชี่ยวชาญในวอร์รูมเปิดเผยว่า ข้อความหมิ่นพระบรมเดชานุภาพส่วนใหญ่โพสต์กันในเวลาหลังเที่ยงคืนและช่วงเวลาไม่กี่ชั่วโมงก่อนรุ่งสาง
อย่างไรก็ตาม ปฏิบัติการปราบปรามข้อความหมิ่นฯเหล่านี้ได้ทำให้ประชาชนหลายคนในประเทศไทยวิตกกังวล ซึ่งพวกเขามองว่าการกระทำเช่นนี้ไม่ต่างจากการล่าแม่มด นอกจากนี้ยังมีบรรดานักเขียน นักวิชาการ และศิลปินกลุ่มต่างๆที่ชี้ว่า กฏหมายหมิ่นพระบรมเดชานุภาพสามารถถูกใช้เป็นเครื่องมืออย่างผิดๆได้
ในเดือนสิงหาคมที่ผ่านมา คณาจารย์ทั้งไทยและต่างชาติจำนวน 112 คนได้ยื่นจดหมายเปิดผนึกที่มีเนื้อหาชี้แจงว่า การกวาดล้างทางอินเตอร์เน็ตที่กำลังดำรงอยู่เป็นภัยต่อ “อนาคตประชาธิปไตยในประเทศไทย” แก่นายกรัฐมนตรี ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร

หนังสือพิมพ์บางกอกโพสต์ ใช้พื้นที่บทบรรณาธิการเมื่อเร็วๆ นี้แสดงความเห็นว่า พ.ร.บ. การกระทำผิดทางคอมพิวเตอร์ กำลังถูกใช้อย่างไร้การควบคุมและพิจารณา โดยวิจารณ์ไว้ว่า พ.ร.บ. ดังกล่าวได้ถูกใช้เป็นเครื่องมือปิดหรือบล๊อกเว็บไซต์นับหมื่นๆเว็บโดยปราศจากหลักฐานที่ชี้ชัดถึงการกระทำผิด และแทบจะเป็นไปไม่ได้เลยที่เว็บไซต์เหล่านั้นทั้งหมดจะทำผิดข้อหาหมิ่นพระบรมเดชานุภาพจริง

มีกรณีหนึ่งที่ได้รับความสนใจมากเป็นพิเศษ จิรนุช เปรมชัยพร ผู้ดูแลเว็บไซต์ “ประชาไท” ได้ถูกดำเนินคดีเนื่องมาจากบางข้อความที่โพสต์ในเว็บไซต์แห่งนั้นมีเนื้อหาที่ถูกกล่าวหาว่าหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ จีรนุช อธิบายตนเองต่อศาลว่า ในวันหนึ่งๆนั้นเธอต้องอ่านข้อความจำนวนเป็นพันๆ ที่โพสต์ในเว็บไซต์และจัดการลบข้อความที่มีลักษณะหมิ่นฯเมื่อเธอพบเจอเข้า อย่างไรก็ตาม ฝ่ายผู้ฟ้องร้องกลับบอกว่า จีรนุชลบความเห็นเหล่านั้นไม่เร็วพอ

การพิจารณาคดีครั้งนี้ได้รับความสนใจจากบริษัทที่ทำธุรกิจในโลกอินเตอร์เน็ตยักษ์ใหญ่ของโลกอย่างGoogle, Yahoo และ Ebay ล่าสุด Asia Internet Coalition อันเป็นสมาคมร่วมของอุตสาหกรรมธุรกิจในอินเตอร์เน็ตซึ่งก่อตั้งร่วมกันโดยบริษัทเหล่านั้น ได้ออกแถลงการณ์เมื่อเดือนที่แล้วว่า การบังคับใช้กฏหมายของ พรบ. คอมพิวเตอร์ดังกล่าว อาจจะส่งผลให้บริษัทที่ให้บริการทางอินเตอร์เน็ตปฏิเสธที่จะทำธุรกิจในประเทศไทยได้

“เมื่อมีการนำเอาสื่อกลางของการใช้อินเตอร์เน็ตมารับความผิดชอบแทนผู้ใช้อินเตอร์เน็ตเช่นนี้ กรณี (จีรนุช) อาจถือได้ว่าเป็นการตั้งตัวอย่าง (การดำเนินคดี) ที่อันตรายและสามารถมีผลต่อเศรษฐกิจระยะยาวของประเทศ” สมาคมกล่าวไว้ในแถลงการณ์

ภายในวอร์รูม ผู้เชี่ยวชาญกล่าวว่าพวกเขากำลังถูกกดดันจากทุกฝ่าย สำนักงานของพวกเขาได้รับการร้องเรียนทางอีเมลล์ประมาณ 20-100 ฉบับต่อวัน อีเมลล์เหล่านั้นแบ่งฝ่ายกันดังเช่นสังคมไทย บ้างก็สนับสนุน บ้างก็ต่อต้านปฏิบัติการของวอร์รูม

ผู้สนับสนุนสถาบันพระมหากษัตริย์บางกลุ่มก็มีจุดยืนที่สุดโต่ง เมื่อต้นปีที่ผ่านมานี้ นางฟ้างาย คำอโศก สตรีผู้หนึ่งจากประเทศไทยภาคเหนือ ได้ล่ารายชื่อจำนวน 130,000 รายชื่อเพื่อสนับสนุนให้ยกเลิกระบอบประชาธิปไตยในปัจจุบันของประเทศไทย และแทนที่ด้วยรัฐบาลอันประกอบด้วย “ความดีและคุณธรรม” ที่พระราชทานโดยพระมหากษัตริย์แทน
ฟ้างาย เปี่ยมไปด้วยอารมณ์ความรู้สึกเมื่อพูดคุยเกี่ยวกับการรณรงค์ครั้งนี้ของเธอ “เราได้เห็นว่าในหลวงท่านทรงเสียสละเพื่อชาวเรา” เธอกล่าวในการสัมภาษณ์ “เรามีความรักในจิตวิญญาณของเราแด่พระองค์ท่าน พระองค์ทรงเป็นเหมือนเทพองค์หนึ่ง”

อย่างไรก็ตาม ในอีกฟากหนึ่งคือการขานตอบกฏหมายอันจำกัดสิทธินี้ด้วยการเสียดสี ศูนย์รับเรื่องร้องเรียนการกระทำผิดทางอินเตอร์เน็ต 24 ชั่วโมงที่ก่อตั้งโดยรัฐบาลในปี 2552 ได้รับการโทรเข้ามาร้องเรียนหลายสิบครั้งต่อวัน
แต่ปรากฏว่าการโทรเหล่านี้หลายครั้งก็ไม่ได้จริงจังแต่อย่างใด

“90% ที่โทรเข้ามาคือโทรมาแกล้งเล่น” ณัฐ พยงค์ศรี ผู้เชี่ยวชาญคอมพิวเตอร์คนหนึ่งในห้องกล่าวกับผู้สื่อข่าว
นายสุรชัย ผู้ทำหน้าที่เป็นหัวหน้าของทีมในวอร์รูม เปิดเผยว่าเขาต้องถามหาคำชี้แนะจากผู้บังคับบัญชาอีกต่อหนึ่งเสมอๆ โดยนายสุรชัยใช้โปรแกรมชื่อว่า “แมงมุม” ที่สร้างขึ้นมาสำหรับการนี้โดยเฉพาะในการท่องไปตามโลกอินเตอร์เน็ตและแจ้งให้ทราบถึงเนื้อหาที่อาจเข้าข่ายดูหมิ่นเบื้องสูง จากนั้น เขาจึงปรึกษากับหน่วยทหารพิเศษที่ประจำการ ณ พระราชฐานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เพื่อพิจารณาความร้ายแรงของแต่ละเนื้อหา

“เมื่อผู้บังคับบัญชาเหล่านี้พิจารณาแล้วตัดสินใจให้บล๊อก เราก็ต้องทำการบล๊อกตามคำสั่ง” นายสุรชัยกล่าว

ตรงบริเวณทางเข้าวอร์รูมแห่งนี้ นายสุรชัยได้นำเอารูปเคารพที่แกะสลักไม้เป็นรูปนักรบจีนโบราณมาตั้งไว้ รูปเคารพนั้นทำท่ากวัดแกว่งง้าวเป็นอาวุธ

รูปเคารพดังกล่าวคือ กวนอู เทพอันเป็นตัวละครหนึ่งในวรรณคดีจีน “สามก๊ก” เสมือนเป็นเครื่องแสดงออกถึงความตั้งใจที่จะปกปักรักษาไว้ซึ่งสถาบันพระมหากษัตริย์ของนายสุรชัย เขาอธิบายว่า กวนอู คือเทพแห่งความซื่อตรงและซื่อสัตย์ และยังเป็นสัญลักษณ์ของนักรบที่ห้อมล้อมไปด้วยสังคมอันแตกแยกอีกด้วย

“หลายคนปฏิเสธที่จะมารับหน้าที่ตรงนี้” นายสุรชัยกล่าว “ไม่ว่าจะถูกหรือผิด คนที่โดนว่าทั้งขึ้นทั้งล่องก็คือพวกเราอยู่ดี”
 

สมัครรับข่าวความเคลื่อนไหวจากประชาไท ผ่านทางอีเมล ดูรายละเอียดที่ http://groups.google.com/group/prachatai-newspaper

บทความแปล: สงครามไฮเทคเพื่อพิทักษ์สถาบันเก่าแก่จากคำดูหมิ่น

Posted: 11 Oct 2011 12:32 PM PDT

โทมัส ฟูลเลอร์ ผู้สื่อข่าวหนังสือพิมพ์นิวยอร์กไทมส์ พาผู้อ่านเข้าไปดูเบื้องหลัง “วอร์รูม” ที่ใช้บัญชาการในการจัดการ “เว็บหมิ่น” ของประเทศไทย ในบทความแปล “สงครามไฮเทคเพื่อพิทักษ์สถาบันเก่าแก่จากคำดูหมิ่น”

ห้องอันปราศจากหน้าต่างแม้แต่บานเดียวแห่งนั้นตั้งอยู่ ณ สุดทางเดินอันสว่างไปด้วยไฟจากหลอดนีออกและซับซ้อนราวกับเขาวงกตภายในศูนย์ราชการขนาดยักษ์แห่งหนึ่ง ภายในห้อง ผู้เชี่ยวชาญทางคอมพิวเตอร์หลายชีวิตกำลังนั่งไล่ล่าหารูปภาพ บทความ ข้อความในเฟซบุค และสิ่งใดก็ตามในโลกอินเตอร์เน็ตที่อาจมีเนื้อหาดูหมิ่นพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 และพระบรมวงศานุวงศ์

ผู้เชี่ยวชาญเหล่านี้เป็นส่วนหนึ่งขององค์การที่มีชื่อว่า สำนักงานป้องกันและปราบปรามการกระทำผิดทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งรัฐบาลชุดใหม่ที่เพิ่งได้ขึ้นสู่อำนาจเมื่อเดือนกรกฎาคมที่ผ่านมา เลือกที่จะเรียกหน่วยงานนี้อย่างสั้นๆว่า “วอร์รูม” และ “วอร์รูม” แห่งนี้เองคือศูนย์บัญชาการแห่งปฏิบัติการขนานใหญ่และเฉียบขาดอันมีจุดมุ่งหมายเพื่อขจัดข้อความดูหมิ่นองค์พระมหากษัตริย์ให้หมดสิ้นจากโลกอินเตอร์เน็ต

หน่วยราชการยืนยันว่าจะขยายผลการดำเนินงานของปฏิบัติการล้อมปราบทางอินเตอร์เน็ตครั้งนี้ต่อไปให้เข้มข้นยิ่งขึ้นเรื่อยๆ โดยการปฏิบัติงานนั้นดำเนินการโดยทีมผู้เชี่ยวชาญทางคอมพิวเตอร์จำนวน 10 นายเหล่านี้ ภายใต้การบังคับการของนายสุรชัย นิลแสง ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง “สารวัตรไซเบอร์”

“เรามุ่งมั่นต่อหน้าที่ของเราตรงนี้ เพราะเรารักและเทิดทูนบูชาสถาบันพระมหากษัตริย์” นายสุรชัยกล่าวระหว่างการให้สัมภาษณ์เป็นเวลาสองชั่วโมง นายสุรชัยและผู้ปฏิบัติหน้าที่คนอื่นๆยังได้พานักข่าวไปชมส่วนต่างๆใน “วอร์รูม” รวมทั้งบริเวณสำหรับเก็บคอมพิวเตอร์ซึ่งทางหน่วยงานได้ยึดมาจากผู้ต้องสงสัยที่ถูกกล่าวหาว่ากระทำการดูหมิ่นสถาบันพระมหากษัตริย์ และนี่ถือเป็นครั้งแรกที่มีผู้สื่อข่าวเข้ามาเยี่ยมชมในศูนย์ปฏิบัติการแห่งนี้
ไม่มีการอนุญาตให้บันทึกภาพแต่อย่างใด

การเยี่ยมชมครั้งนี้ได้แสดงให้เห็นระดับความใหญ่โตของศึกออนไลน์ระหว่างรัฐบาลไทยและบรรดาผู้คิดต่างในประเด็นเกี่ยวกับสถาบันพระมหากษัตริย์ และก็ได้แสดงถึงความคลุมเครือของมาตรฐานที่ใช้กำหนดว่า ข้อความหรือการกระทำใดบ้างที่ถือได้ว่าเป็นการดูหมิ่นสถาบันฯกันแน่ ตามที่มีผู้ที่ไม่เห็นด้วยกับปฏิบัติการดังกล่าวในประเทศไทยได้แสดงความเห็นว่า การไล่ล่าความผิดในข้อหาหมิ่นพระบรมเดชานุภาพเช่นนี้กำลังละเมิดสิทธิของพลเมือง
รัฐบาลในหลายประเทศ โดยเฉพาะในจีนและสิงคโปร์ ต่างก็พยายามควบคุมข้อมูลในอินเตอร์เน็ตเช่นกัน แต่ไม่มีที่ใดที่มีการควบคุมอินเตอร์อย่างออกนอกหน้าและตะบี้ตะบันแบบในประเทศไทย

ทีมผู้เชี่ยวชาญในวอร์รูมแห่งนี้ได้ปิดกั้นเว็บเพจเป็นจำนวนถึง 70,000 เพจในเวลาเพียง 4 ปี โดยส่วนใหญ่ – หรือประมาณ 60,000 เพจ – ถูกบล็อกด้วยข้อหาดูหมิ่นสถาบันพระมหากษัตริย์ ตามที่เปิดเผยโดยนายสุรชัย (เว็บเพจอื่นๆส่วนมากถูกบล็อกคด้วยข้อหาอนาจาร) นายสุรชัยยังได้อธิบายด้วยว่า ทุกครั้งที่จะมีการบล็อกหน้าเว็บ หน่วยงานของเขาจะต้องขอคำสั่งจากศาลก่อนเสมอ และศาลก็ไม่เคยปฏิเสธที่จะออกคำสั่งในการบล็อกเว็บเหล่านี้เลยแม้แต่ครั้งเดียว
เนื่องจากการอภิปรายประเด็นเกี่ยวกับสถาบันพระมหากษัตริย์ยังเป็นสิ่งต้องห้ามในประเทศไทย และเป็นเรื่องที่คุยกันได้แต่ในระดับหลบๆซ่อนๆ จึงเป็นเรื่องยากที่จะเข้าใจว่าจุดประสงค์ของข้อความโจมตีพระบรมวงศานุวงศ์เหล่านั้นคืออะไรกันแน่ ไม่เคยมีการประท้วงในที่สาธารณะต่อองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเลยตลอดเวลา 60 ปีที่พระองค์ทรงครองราชย์ แม้แต่ผู้ประท้วงต่อต้านอำนาจในสังคมที่แข็งกร้าวที่สุดก็ยังไม่เรียกตนเองว่าเป็นผู้นิยมสาธารณรัฐ

อย่างไรก็ตาม อินเตอร์เน็ต ก็ได้กลายเป็นแนวปราการที่ป้องกันการดูหมิ่นเหยียดหยามสถาบัน ที่กำลังเผชิญหน้ากับการไร้ความยำเกรงและการออกนอกกรอบของคนที่เกิดมาในยุคสมัยของเฟซบุ๊ก

ประชาชนไทยหลายคนอาจจะมีความเกรงกลัวมากเกินกว่าจะกบฏต่อปูชนียวาทกรรมหลักนี้ในที่สาธารณะ แต่พวกเขาสามารถเลือกที่จะแสดงข้อความจาบจ้วงต่อสถาบันมหาพระมหากษัตริย์อย่างไม่คะนามือได้ในโลกอินเตอร์เน็ต โดยอาศัยความนิรนามของอินเตอร์เน็ตนั่นเอง

สุรชัยกล่าวว่า จำนวนเว็บไซต์ที่มีเนื้อหาหมิ่นสถาบัน เพิ่มขึ้นอย่างชัดเจนหลังการรัฐประหารในเดือนกันยายน พ.ศ. 2549 การรัฐประหารดังกล่าวก่อให้เกิดความแตกแยกในสังคมไทยอย่างชัดเจน และยังเป็นจุกำเนิดของคนเสื้อแดง ที่มีจุดยืนต่อต้านการแทรกแซงของทหารในการเมือง และสนับสนุนอดีตนายกฯ ทักษิณ ชินวัตร

สำหรับบุคคลภายนอกสังคมไทยแล้ว ประเทศไทยดูเป็นประเทศที่รักสนุกและไม่เข้มงวด เป็นประเทศที่นิติรัฐสามารถเอนอ่อนได้ดังต้นอ้อในสายลม แต่สถาบันพระมหากษัตริย์ – หรือเรียกสั้นๆโดยคนไทยว่า “สถาบัน” – กลับเป็นเสาหินตั้งตระหง่านอยู่เหนือนิสัยใจคอแบบ “อะไรก็ได้” ของสังคมไทย คนไทยหลายคนกลายเป็นขึงขังขึ้นมาทันทีในเรื่องการพิทักษ์ไว้ซึ่งพระบารมีแห่งองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

หลายคนกังวลใจต่อพระพลานามัยของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว โดยพระองค์จะทรงมีพระชนมายุถึง 84 พรรษาในเดือนธันวาคมที่จะมาถึงนี้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงประทับ ณ โรงพยาบาลศิริราชมาเป็นเวลาสองปีติดต่อกันแล้ว และพระองค์ก็เสด็จออกสู่โลกภายนอกให้สาธารณชนได้เห็นน้อยลง

กฏหมายหมิ่นพระบรมเดชานุภาพสามารถให้โทษจำคุกได้ถึง 15 ปีต่อผู้ที่ “หมิ่นประมาท ดูหมิ่น หรือแสดงความอาฆาตมาดร้ายพระมหากษัตริย์ พระราชินี รัชทายาท หรือผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์” นอกจากนี้ พระราชบัญญัติการกระทำผิดทางคอมพิวเตอร์ซึ่งออกในปี 2550 โดยรัฐบาลที่แต่งตั้งโดยคณะรัฐประหารอีกต่อหนึ่ง ก็คาดโทษจำคุกอีก 5 ปีสำหรับการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร “โดยประการที่น่าจะเกิดความเสียหายต่อความมั่นคงของประเทศหรือก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน”
นายสุรชัยเผยว่าบางกรณีก็ตัดสินได้ง่ายว่าหมิ่นพระบรมเดชานุภาพแน่นอน เช่น เขาไม่เคยลังเลที่จะบล๊อกเว็บเพจใดก็ตามที่มีรูปเท้าวางอยู่เหนือพระเศียรของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว อันถือว่าเป็นการดูหมิ่นรุนแรงในวัฒนธรรมไทย นายสุรชัยยังอธิบายเพิ่มเติมว่า การใช้สรรพนามที่ไม่เหมาะสมนำหน้าพระนามขององค์พระเจ้าอยู่หัวก็ถือเป็นความผิดที่เห็นได้ชัดเช่นกัน นับว่าเป็นความซ่อนเงื่อนหนึ่งของภาษาไทยที่ไม่อาจแปลให้เข้าใจได้ (สำหรับผู้ที่ไม่คุ้นเคยกับภาษาไทย)
อย่างไรก็ตาม การไล่ล่าการหมิ่นพระบรมเดชนุภาพก็ซับซ้อนได้มากกว่านั้น “พวกนี้ชอบโพสต์คำเปรียบเปรยน่ะ” นายสุรชัยกล่าวเกี่ยวกับผู้ต้องสงสัยที่กระทำการหมิ่น “พวกเขามีรหัสลับใช้กันเอง”

รัฐบาลได้เพิ่มงบประมาณวอร์รูมแห่งนี้แล้ว และในเร็วๆนี้จะมีการเพิ่มระดับผู้ปฏิบัติงานจนสามารถดำเนินการได้ตลอด 24 ชั่วโมง ผู้เชี่ยวชาญในวอร์รูมเปิดเผยว่า ข้อความหมิ่นพระบรมเดชานุภาพส่วนใหญ่โพสต์กันในเวลาหลังเที่ยงคืนและช่วงเวลาไม่กี่ชั่วโมงก่อนรุ่งสาง
อย่างไรก็ตาม ปฏิบัติการปราบปรามข้อความหมิ่นฯเหล่านี้ได้ทำให้ประชาชนหลายคนในประเทศไทยวิตกกังวล ซึ่งพวกเขามองว่าการกระทำเช่นนี้ไม่ต่างจากการล่าแม่มด นอกจากนี้ยังมีบรรดานักเขียน นักวิชาการ และศิลปินกลุ่มต่างๆที่ชี้ว่า กฏหมายหมิ่นพระบรมเดชานุภาพสามารถถูกใช้เป็นเครื่องมืออย่างผิดๆได้
ในเดือนสิงหาคมที่ผ่านมา คณาจารย์ทั้งไทยและต่างชาติจำนวน 112 คนได้ยื่นจดหมายเปิดผนึกที่มีเนื้อหาชี้แจงว่า การกวาดล้างทางอินเตอร์เน็ตที่กำลังดำรงอยู่เป็นภัยต่อ “อนาคตประชาธิปไตยในประเทศไทย” แก่นายกรัฐมนตรี ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร

หนังสือพิมพ์บางกอกโพสต์ ใช้พื้นที่บทบรรณาธิการเมื่อเร็วๆ นี้แสดงความเห็นว่า พ.ร.บ. การกระทำผิดทางคอมพิวเตอร์ กำลังถูกใช้อย่างไร้การควบคุมและพิจารณา โดยวิจารณ์ไว้ว่า พ.ร.บ. ดังกล่าวได้ถูกใช้เป็นเครื่องมือปิดหรือบล๊อกเว็บไซต์นับหมื่นๆเว็บโดยปราศจากหลักฐานที่ชี้ชัดถึงการกระทำผิด และแทบจะเป็นไปไม่ได้เลยที่เว็บไซต์เหล่านั้นทั้งหมดจะทำผิดข้อหาหมิ่นพระบรมเดชานุภาพจริง

มีกรณีหนึ่งที่ได้รับความสนใจมากเป็นพิเศษ จิรนุช เปรมชัยพร ผู้ดูแลเว็บไซต์ “ประชาไท” ได้ถูกดำเนินคดีเนื่องมาจากบางข้อความที่โพสต์ในเว็บไซต์แห่งนั้นมีเนื้อหาที่ถูกกล่าวหาว่าหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ จีรนุช อธิบายตนเองต่อศาลว่า ในวันหนึ่งๆนั้นเธอต้องอ่านข้อความจำนวนเป็นพันๆ ที่โพสต์ในเว็บไซต์และจัดการลบข้อความที่มีลักษณะหมิ่นฯเมื่อเธอพบเจอเข้า อย่างไรก็ตาม ฝ่ายผู้ฟ้องร้องกลับบอกว่า จีรนุชลบความเห็นเหล่านั้นไม่เร็วพอ

การพิจารณาคดีครั้งนี้ได้รับความสนใจจากบริษัทที่ทำธุรกิจในโลกอินเตอร์เน็ตยักษ์ใหญ่ของโลกอย่างGoogle, Yahoo และ Ebay ล่าสุด Asia Internet Coalition อันเป็นสมาคมร่วมของอุตสาหกรรมธุรกิจในอินเตอร์เน็ตซึ่งก่อตั้งร่วมกันโดยบริษัทเหล่านั้น ได้ออกแถลงการณ์เมื่อเดือนที่แล้วว่า การบังคับใช้กฏหมายของ พรบ. คอมพิวเตอร์ดังกล่าว อาจจะส่งผลให้บริษัทที่ให้บริการทางอินเตอร์เน็ตปฏิเสธที่จะทำธุรกิจในประเทศไทยได้

“เมื่อมีการนำเอาสื่อกลางของการใช้อินเตอร์เน็ตมารับความผิดชอบแทนผู้ใช้อินเตอร์เน็ตเช่นนี้ กรณี (จีรนุช) อาจถือได้ว่าเป็นการตั้งตัวอย่าง (การดำเนินคดี) ที่อันตรายและสามารถมีผลต่อเศรษฐกิจระยะยาวของประเทศ” สมาคมกล่าวไว้ในแถลงการณ์

ภายในวอร์รูม ผู้เชี่ยวชาญกล่าวว่าพวกเขากำลังถูกกดดันจากทุกฝ่าย สำนักงานของพวกเขาได้รับการร้องเรียนทางอีเมลล์ประมาณ 20-100 ฉบับต่อวัน อีเมลล์เหล่านั้นแบ่งฝ่ายกันดังเช่นสังคมไทย บ้างก็สนับสนุน บ้างก็ต่อต้านปฏิบัติการของวอร์รูม

ผู้สนับสนุนสถาบันพระมหากษัตริย์บางกลุ่มก็มีจุดยืนที่สุดโต่ง เมื่อต้นปีที่ผ่านมานี้ นางฟ้างาย คำอโศก สตรีผู้หนึ่งจากประเทศไทยภาคเหนือ ได้ล่ารายชื่อจำนวน 130,000 รายชื่อเพื่อสนับสนุนให้ยกเลิกระบอบประชาธิปไตยในปัจจุบันของประเทศไทย และแทนที่ด้วยรัฐบาลอันประกอบด้วย “ความดีและคุณธรรม” ที่พระราชทานโดยพระมหากษัตริย์แทน
ฟ้างาย เปี่ยมไปด้วยอารมณ์ความรู้สึกเมื่อพูดคุยเกี่ยวกับการรณรงค์ครั้งนี้ของเธอ “เราได้เห็นว่าในหลวงท่านทรงเสียสละเพื่อชาวเรา” เธอกล่าวในการสัมภาษณ์ “เรามีความรักในจิตวิญญาณของเราแด่พระองค์ท่าน พระองค์ทรงเป็นเหมือนเทพองค์หนึ่ง”

อย่างไรก็ตาม ในอีกฟากหนึ่งคือการขานตอบกฏหมายอันจำกัดสิทธินี้ด้วยการเสียดสี ศูนย์รับเรื่องร้องเรียนการกระทำผิดทางอินเตอร์เน็ต 24 ชั่วโมงที่ก่อตั้งโดยรัฐบาลในปี 2552 ได้รับการโทรเข้ามาร้องเรียนหลายสิบครั้งต่อวัน
แต่ปรากฏว่าการโทรเหล่านี้หลายครั้งก็ไม่ได้จริงจังแต่อย่างใด

“90% ที่โทรเข้ามาคือโทรมาแกล้งเล่น” ณัฐ พยงค์ศรี ผู้เชี่ยวชาญคอมพิวเตอร์คนหนึ่งในห้องกล่าวกับผู้สื่อข่าว
นายสุรชัย ผู้ทำหน้าที่เป็นหัวหน้าของทีมในวอร์รูม เปิดเผยว่าเขาต้องถามหาคำชี้แนะจากผู้บังคับบัญชาอีกต่อหนึ่งเสมอๆ โดยนายสุรชัยใช้โปรแกรมชื่อว่า “แมงมุม” ที่สร้างขึ้นมาสำหรับการนี้โดยเฉพาะในการท่องไปตามโลกอินเตอร์เน็ตและแจ้งให้ทราบถึงเนื้อหาที่อาจเข้าข่ายดูหมิ่นเบื้องสูง จากนั้น เขาจึงปรึกษากับหน่วยทหารพิเศษที่ประจำการ ณ พระราชฐานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เพื่อพิจารณาความร้ายแรงของแต่ละเนื้อหา

“เมื่อผู้บังคับบัญชาเหล่านี้พิจารณาแล้วตัดสินใจให้บล๊อก เราก็ต้องทำการบล๊อกตามคำสั่ง” นายสุรชัยกล่าว

ตรงบริเวณทางเข้าวอร์รูมแห่งนี้ นายสุรชัยได้นำเอารูปเคารพที่แกะสลักไม้เป็นรูปนักรบจีนโบราณมาตั้งไว้ รูปเคารพนั้นทำท่ากวัดแกว่งง้าวเป็นอาวุธ

รูปเคารพดังกล่าวคือ กวนอู เทพอันเป็นตัวละครหนึ่งในวรรณคดีจีน “สามก๊ก” เสมือนเป็นเครื่องแสดงออกถึงความตั้งใจที่จะปกปักรักษาไว้ซึ่งสถาบันพระมหากษัตริย์ของนายสุรชัย เขาอธิบายว่า กวนอู คือเทพแห่งความซื่อตรงและซื่อสัตย์ และยังเป็นสัญลักษณ์ของนักรบที่ห้อมล้อมไปด้วยสังคมอันแตกแยกอีกด้วย

“หลายคนปฏิเสธที่จะมารับหน้าที่ตรงนี้” นายสุรชัยกล่าว “ไม่ว่าจะถูกหรือผิด คนที่โดนว่าทั้งขึ้นทั้งล่องก็คือพวกเราอยู่ดี”
 

สมัครรับข่าวความเคลื่อนไหวจากประชาไท ผ่านทางอีเมล ดูรายละเอียดที่ http://groups.google.com/group/prachatai-newspaper

บทความแปล: สงครามไฮเทคเพื่อพิทักษ์สถาบันเก่าแก่จากคำดูหมิ่น

Posted: 11 Oct 2011 12:31 PM PDT

โทมัส ฟูลเลอร์ ผู้สื่อข่าวหนังสือพิมพ์นิวยอร์กไทมส์ พาผู้อ่านเข้าไปดูเบื้องหลัง “วอร์รูม” ที่ใช้บัญชาการในการจัดการ “เว็บหมิ่น” ของประเทศไทย ในบทความแปล “สงครามไฮเทคเพื่อพิทักษ์สถาบันเก่าแก่จากคำดูหมิ่น”

ห้องอันปราศจากหน้าต่างแม้แต่บานเดียวแห่งนั้นตั้งอยู่ ณ สุดทางเดินอันสว่างไปด้วยไฟจากหลอดนีออกและซับซ้อนราวกับเขาวงกตภายในศูนย์ราชการขนาดยักษ์แห่งหนึ่ง ภายในห้อง ผู้เชี่ยวชาญทางคอมพิวเตอร์หลายชีวิตกำลังนั่งไล่ล่าหารูปภาพ บทความ ข้อความในเฟซบุค และสิ่งใดก็ตามในโลกอินเตอร์เน็ตที่อาจมีเนื้อหาดูหมิ่นพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 และพระบรมวงศานุวงศ์

ผู้เชี่ยวชาญเหล่านี้เป็นส่วนหนึ่งขององค์การที่มีชื่อว่า สำนักงานป้องกันและปราบปรามการกระทำผิดทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งรัฐบาลชุดใหม่ที่เพิ่งได้ขึ้นสู่อำนาจเมื่อเดือนกรกฎาคมที่ผ่านมา เลือกที่จะเรียกหน่วยงานนี้อย่างสั้นๆว่า “วอร์รูม” และ “วอร์รูม” แห่งนี้เองคือศูนย์บัญชาการแห่งปฏิบัติการขนานใหญ่และเฉียบขาดอันมีจุดมุ่งหมายเพื่อขจัดข้อความดูหมิ่นองค์พระมหากษัตริย์ให้หมดสิ้นจากโลกอินเตอร์เน็ต

หน่วยราชการยืนยันว่าจะขยายผลการดำเนินงานของปฏิบัติการล้อมปราบทางอินเตอร์เน็ตครั้งนี้ต่อไปให้เข้มข้นยิ่งขึ้นเรื่อยๆ โดยการปฏิบัติงานนั้นดำเนินการโดยทีมผู้เชี่ยวชาญทางคอมพิวเตอร์จำนวน 10 นายเหล่านี้ ภายใต้การบังคับการของนายสุรชัย นิลแสง ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง “สารวัตรไซเบอร์”

“เรามุ่งมั่นต่อหน้าที่ของเราตรงนี้ เพราะเรารักและเทิดทูนบูชาสถาบันพระมหากษัตริย์” นายสุรชัยกล่าวระหว่างการให้สัมภาษณ์เป็นเวลาสองชั่วโมง นายสุรชัยและผู้ปฏิบัติหน้าที่คนอื่นๆยังได้พานักข่าวไปชมส่วนต่างๆใน “วอร์รูม” รวมทั้งบริเวณสำหรับเก็บคอมพิวเตอร์ซึ่งทางหน่วยงานได้ยึดมาจากผู้ต้องสงสัยที่ถูกกล่าวหาว่ากระทำการดูหมิ่นสถาบันพระมหากษัตริย์ และนี่ถือเป็นครั้งแรกที่มีผู้สื่อข่าวเข้ามาเยี่ยมชมในศูนย์ปฏิบัติการแห่งนี้
ไม่มีการอนุญาตให้บันทึกภาพแต่อย่างใด

การเยี่ยมชมครั้งนี้ได้แสดงให้เห็นระดับความใหญ่โตของศึกออนไลน์ระหว่างรัฐบาลไทยและบรรดาผู้คิดต่างในประเด็นเกี่ยวกับสถาบันพระมหากษัตริย์ และก็ได้แสดงถึงความคลุมเครือของมาตรฐานที่ใช้กำหนดว่า ข้อความหรือการกระทำใดบ้างที่ถือได้ว่าเป็นการดูหมิ่นสถาบันฯกันแน่ ตามที่มีผู้ที่ไม่เห็นด้วยกับปฏิบัติการดังกล่าวในประเทศไทยได้แสดงความเห็นว่า การไล่ล่าความผิดในข้อหาหมิ่นพระบรมเดชานุภาพเช่นนี้กำลังละเมิดสิทธิของพลเมือง
รัฐบาลในหลายประเทศ โดยเฉพาะในจีนและสิงคโปร์ ต่างก็พยายามควบคุมข้อมูลในอินเตอร์เน็ตเช่นกัน แต่ไม่มีที่ใดที่มีการควบคุมอินเตอร์อย่างออกนอกหน้าและตะบี้ตะบันแบบในประเทศไทย

ทีมผู้เชี่ยวชาญในวอร์รูมแห่งนี้ได้ปิดกั้นเว็บเพจเป็นจำนวนถึง 70,000 เพจในเวลาเพียง 4 ปี โดยส่วนใหญ่ – หรือประมาณ 60,000 เพจ – ถูกบล็อกด้วยข้อหาดูหมิ่นสถาบันพระมหากษัตริย์ ตามที่เปิดเผยโดยนายสุรชัย (เว็บเพจอื่นๆส่วนมากถูกบล็อกคด้วยข้อหาอนาจาร) นายสุรชัยยังได้อธิบายด้วยว่า ทุกครั้งที่จะมีการบล็อกหน้าเว็บ หน่วยงานของเขาจะต้องขอคำสั่งจากศาลก่อนเสมอ และศาลก็ไม่เคยปฏิเสธที่จะออกคำสั่งในการบล็อกเว็บเหล่านี้เลยแม้แต่ครั้งเดียว
เนื่องจากการอภิปรายประเด็นเกี่ยวกับสถาบันพระมหากษัตริย์ยังเป็นสิ่งต้องห้ามในประเทศไทย และเป็นเรื่องที่คุยกันได้แต่ในระดับหลบๆซ่อนๆ จึงเป็นเรื่องยากที่จะเข้าใจว่าจุดประสงค์ของข้อความโจมตีพระบรมวงศานุวงศ์เหล่านั้นคืออะไรกันแน่ ไม่เคยมีการประท้วงในที่สาธารณะต่อองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเลยตลอดเวลา 60 ปีที่พระองค์ทรงครองราชย์ แม้แต่ผู้ประท้วงต่อต้านอำนาจในสังคมที่แข็งกร้าวที่สุดก็ยังไม่เรียกตนเองว่าเป็นผู้นิยมสาธารณรัฐ

อย่างไรก็ตาม อินเตอร์เน็ต ก็ได้กลายเป็นแนวปราการที่ป้องกันการดูหมิ่นเหยียดหยามสถาบัน ที่กำลังเผชิญหน้ากับการไร้ความยำเกรงและการออกนอกกรอบของคนที่เกิดมาในยุคสมัยของเฟซบุ๊ก

ประชาชนไทยหลายคนอาจจะมีความเกรงกลัวมากเกินกว่าจะกบฏต่อปูชนียวาทกรรมหลักนี้ในที่สาธารณะ แต่พวกเขาสามารถเลือกที่จะแสดงข้อความจาบจ้วงต่อสถาบันมหาพระมหากษัตริย์อย่างไม่คะนามือได้ในโลกอินเตอร์เน็ต โดยอาศัยความนิรนามของอินเตอร์เน็ตนั่นเอง

สุรชัยกล่าวว่า จำนวนเว็บไซต์ที่มีเนื้อหาหมิ่นสถาบัน เพิ่มขึ้นอย่างชัดเจนหลังการรัฐประหารในเดือนกันยายน พ.ศ. 2549 การรัฐประหารดังกล่าวก่อให้เกิดความแตกแยกในสังคมไทยอย่างชัดเจน และยังเป็นจุกำเนิดของคนเสื้อแดง ที่มีจุดยืนต่อต้านการแทรกแซงของทหารในการเมือง และสนับสนุนอดีตนายกฯ ทักษิณ ชินวัตร

สำหรับบุคคลภายนอกสังคมไทยแล้ว ประเทศไทยดูเป็นประเทศที่รักสนุกและไม่เข้มงวด เป็นประเทศที่นิติรัฐสามารถเอนอ่อนได้ดังต้นอ้อในสายลม แต่สถาบันพระมหากษัตริย์ – หรือเรียกสั้นๆโดยคนไทยว่า “สถาบัน” – กลับเป็นเสาหินตั้งตระหง่านอยู่เหนือนิสัยใจคอแบบ “อะไรก็ได้” ของสังคมไทย คนไทยหลายคนกลายเป็นขึงขังขึ้นมาทันทีในเรื่องการพิทักษ์ไว้ซึ่งพระบารมีแห่งองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

หลายคนกังวลใจต่อพระพลานามัยของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว โดยพระองค์จะทรงมีพระชนมายุถึง 84 พรรษาในเดือนธันวาคมที่จะมาถึงนี้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงประทับ ณ โรงพยาบาลศิริราชมาเป็นเวลาสองปีติดต่อกันแล้ว และพระองค์ก็เสด็จออกสู่โลกภายนอกให้สาธารณชนได้เห็นน้อยลง

กฏหมายหมิ่นพระบรมเดชานุภาพสามารถให้โทษจำคุกได้ถึง 15 ปีต่อผู้ที่ “หมิ่นประมาท ดูหมิ่น หรือแสดงความอาฆาตมาดร้ายพระมหากษัตริย์ พระราชินี รัชทายาท หรือผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์” นอกจากนี้ พระราชบัญญัติการกระทำผิดทางคอมพิวเตอร์ซึ่งออกในปี 2550 โดยรัฐบาลที่แต่งตั้งโดยคณะรัฐประหารอีกต่อหนึ่ง ก็คาดโทษจำคุกอีก 5 ปีสำหรับการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร “โดยประการที่น่าจะเกิดความเสียหายต่อความมั่นคงของประเทศหรือก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน”
นายสุรชัยเผยว่าบางกรณีก็ตัดสินได้ง่ายว่าหมิ่นพระบรมเดชานุภาพแน่นอน เช่น เขาไม่เคยลังเลที่จะบล๊อกเว็บเพจใดก็ตามที่มีรูปเท้าวางอยู่เหนือพระเศียรของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว อันถือว่าเป็นการดูหมิ่นรุนแรงในวัฒนธรรมไทย นายสุรชัยยังอธิบายเพิ่มเติมว่า การใช้สรรพนามที่ไม่เหมาะสมนำหน้าพระนามขององค์พระเจ้าอยู่หัวก็ถือเป็นความผิดที่เห็นได้ชัดเช่นกัน นับว่าเป็นความซ่อนเงื่อนหนึ่งของภาษาไทยที่ไม่อาจแปลให้เข้าใจได้ (สำหรับผู้ที่ไม่คุ้นเคยกับภาษาไทย)
อย่างไรก็ตาม การไล่ล่าการหมิ่นพระบรมเดชนุภาพก็ซับซ้อนได้มากกว่านั้น “พวกนี้ชอบโพสต์คำเปรียบเปรยน่ะ” นายสุรชัยกล่าวเกี่ยวกับผู้ต้องสงสัยที่กระทำการหมิ่น “พวกเขามีรหัสลับใช้กันเอง”

รัฐบาลได้เพิ่มงบประมาณวอร์รูมแห่งนี้แล้ว และในเร็วๆนี้จะมีการเพิ่มระดับผู้ปฏิบัติงานจนสามารถดำเนินการได้ตลอด 24 ชั่วโมง ผู้เชี่ยวชาญในวอร์รูมเปิดเผยว่า ข้อความหมิ่นพระบรมเดชานุภาพส่วนใหญ่โพสต์กันในเวลาหลังเที่ยงคืนและช่วงเวลาไม่กี่ชั่วโมงก่อนรุ่งสาง
อย่างไรก็ตาม ปฏิบัติการปราบปรามข้อความหมิ่นฯเหล่านี้ได้ทำให้ประชาชนหลายคนในประเทศไทยวิตกกังวล ซึ่งพวกเขามองว่าการกระทำเช่นนี้ไม่ต่างจากการล่าแม่มด นอกจากนี้ยังมีบรรดานักเขียน นักวิชาการ และศิลปินกลุ่มต่างๆที่ชี้ว่า กฏหมายหมิ่นพระบรมเดชานุภาพสามารถถูกใช้เป็นเครื่องมืออย่างผิดๆได้
ในเดือนสิงหาคมที่ผ่านมา คณาจารย์ทั้งไทยและต่างชาติจำนวน 112 คนได้ยื่นจดหมายเปิดผนึกที่มีเนื้อหาชี้แจงว่า การกวาดล้างทางอินเตอร์เน็ตที่กำลังดำรงอยู่เป็นภัยต่อ “อนาคตประชาธิปไตยในประเทศไทย” แก่นายกรัฐมนตรี ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร

หนังสือพิมพ์บางกอกโพสต์ ใช้พื้นที่บทบรรณาธิการเมื่อเร็วๆ นี้แสดงความเห็นว่า พ.ร.บ. การกระทำผิดทางคอมพิวเตอร์ กำลังถูกใช้อย่างไร้การควบคุมและพิจารณา โดยวิจารณ์ไว้ว่า พ.ร.บ. ดังกล่าวได้ถูกใช้เป็นเครื่องมือปิดหรือบล๊อกเว็บไซต์นับหมื่นๆเว็บโดยปราศจากหลักฐานที่ชี้ชัดถึงการกระทำผิด และแทบจะเป็นไปไม่ได้เลยที่เว็บไซต์เหล่านั้นทั้งหมดจะทำผิดข้อหาหมิ่นพระบรมเดชานุภาพจริง

มีกรณีหนึ่งที่ได้รับความสนใจมากเป็นพิเศษ จิรนุช เปรมชัยพร ผู้ดูแลเว็บไซต์ “ประชาไท” ได้ถูกดำเนินคดีเนื่องมาจากบางข้อความที่โพสต์ในเว็บไซต์แห่งนั้นมีเนื้อหาที่ถูกกล่าวหาว่าหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ จีรนุช อธิบายตนเองต่อศาลว่า ในวันหนึ่งๆนั้นเธอต้องอ่านข้อความจำนวนเป็นพันๆ ที่โพสต์ในเว็บไซต์และจัดการลบข้อความที่มีลักษณะหมิ่นฯเมื่อเธอพบเจอเข้า อย่างไรก็ตาม ฝ่ายผู้ฟ้องร้องกลับบอกว่า จีรนุชลบความเห็นเหล่านั้นไม่เร็วพอ

การพิจารณาคดีครั้งนี้ได้รับความสนใจจากบริษัทที่ทำธุรกิจในโลกอินเตอร์เน็ตยักษ์ใหญ่ของโลกอย่างGoogle, Yahoo และ Ebay ล่าสุด Asia Internet Coalition อันเป็นสมาคมร่วมของอุตสาหกรรมธุรกิจในอินเตอร์เน็ตซึ่งก่อตั้งร่วมกันโดยบริษัทเหล่านั้น ได้ออกแถลงการณ์เมื่อเดือนที่แล้วว่า การบังคับใช้กฏหมายของ พรบ. คอมพิวเตอร์ดังกล่าว อาจจะส่งผลให้บริษัทที่ให้บริการทางอินเตอร์เน็ตปฏิเสธที่จะทำธุรกิจในประเทศไทยได้

“เมื่อมีการนำเอาสื่อกลางของการใช้อินเตอร์เน็ตมารับความผิดชอบแทนผู้ใช้อินเตอร์เน็ตเช่นนี้ กรณี (จีรนุช) อาจถือได้ว่าเป็นการตั้งตัวอย่าง (การดำเนินคดี) ที่อันตรายและสามารถมีผลต่อเศรษฐกิจระยะยาวของประเทศ” สมาคมกล่าวไว้ในแถลงการณ์

ภายในวอร์รูม ผู้เชี่ยวชาญกล่าวว่าพวกเขากำลังถูกกดดันจากทุกฝ่าย สำนักงานของพวกเขาได้รับการร้องเรียนทางอีเมลล์ประมาณ 20-100 ฉบับต่อวัน อีเมลล์เหล่านั้นแบ่งฝ่ายกันดังเช่นสังคมไทย บ้างก็สนับสนุน บ้างก็ต่อต้านปฏิบัติการของวอร์รูม

ผู้สนับสนุนสถาบันพระมหากษัตริย์บางกลุ่มก็มีจุดยืนที่สุดโต่ง เมื่อต้นปีที่ผ่านมานี้ นางฟ้างาย คำอโศก สตรีผู้หนึ่งจากประเทศไทยภาคเหนือ ได้ล่ารายชื่อจำนวน 130,000 รายชื่อเพื่อสนับสนุนให้ยกเลิกระบอบประชาธิปไตยในปัจจุบันของประเทศไทย และแทนที่ด้วยรัฐบาลอันประกอบด้วย “ความดีและคุณธรรม” ที่พระราชทานโดยพระมหากษัตริย์แทน
ฟ้างาย เปี่ยมไปด้วยอารมณ์ความรู้สึกเมื่อพูดคุยเกี่ยวกับการรณรงค์ครั้งนี้ของเธอ “เราได้เห็นว่าในหลวงท่านทรงเสียสละเพื่อชาวเรา” เธอกล่าวในการสัมภาษณ์ “เรามีความรักในจิตวิญญาณของเราแด่พระองค์ท่าน พระองค์ทรงเป็นเหมือนเทพองค์หนึ่ง”

อย่างไรก็ตาม ในอีกฟากหนึ่งคือการขานตอบกฏหมายอันจำกัดสิทธินี้ด้วยการเสียดสี ศูนย์รับเรื่องร้องเรียนการกระทำผิดทางอินเตอร์เน็ต 24 ชั่วโมงที่ก่อตั้งโดยรัฐบาลในปี 2552 ได้รับการโทรเข้ามาร้องเรียนหลายสิบครั้งต่อวัน
แต่ปรากฏว่าการโทรเหล่านี้หลายครั้งก็ไม่ได้จริงจังแต่อย่างใด

“90% ที่โทรเข้ามาคือโทรมาแกล้งเล่น” ณัฐ พยงค์ศรี ผู้เชี่ยวชาญคอมพิวเตอร์คนหนึ่งในห้องกล่าวกับผู้สื่อข่าว
นายสุรชัย ผู้ทำหน้าที่เป็นหัวหน้าของทีมในวอร์รูม เปิดเผยว่าเขาต้องถามหาคำชี้แนะจากผู้บังคับบัญชาอีกต่อหนึ่งเสมอๆ โดยนายสุรชัยใช้โปรแกรมชื่อว่า “แมงมุม” ที่สร้างขึ้นมาสำหรับการนี้โดยเฉพาะในการท่องไปตามโลกอินเตอร์เน็ตและแจ้งให้ทราบถึงเนื้อหาที่อาจเข้าข่ายดูหมิ่นเบื้องสูง จากนั้น เขาจึงปรึกษากับหน่วยทหารพิเศษที่ประจำการ ณ พระราชฐานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เพื่อพิจารณาความร้ายแรงของแต่ละเนื้อหา

“เมื่อผู้บังคับบัญชาเหล่านี้พิจารณาแล้วตัดสินใจให้บล๊อก เราก็ต้องทำการบล๊อกตามคำสั่ง” นายสุรชัยกล่าว

ตรงบริเวณทางเข้าวอร์รูมแห่งนี้ นายสุรชัยได้นำเอารูปเคารพที่แกะสลักไม้เป็นรูปนักรบจีนโบราณมาตั้งไว้ รูปเคารพนั้นทำท่ากวัดแกว่งง้าวเป็นอาวุธ

รูปเคารพดังกล่าวคือ กวนอู เทพอันเป็นตัวละครหนึ่งในวรรณคดีจีน “สามก๊ก” เสมือนเป็นเครื่องแสดงออกถึงความตั้งใจที่จะปกปักรักษาไว้ซึ่งสถาบันพระมหากษัตริย์ของนายสุรชัย เขาอธิบายว่า กวนอู คือเทพแห่งความซื่อตรงและซื่อสัตย์ และยังเป็นสัญลักษณ์ของนักรบที่ห้อมล้อมไปด้วยสังคมอันแตกแยกอีกด้วย

“หลายคนปฏิเสธที่จะมารับหน้าที่ตรงนี้” นายสุรชัยกล่าว “ไม่ว่าจะถูกหรือผิด คนที่โดนว่าทั้งขึ้นทั้งล่องก็คือพวกเราอยู่ดี”
 

สมัครรับข่าวความเคลื่อนไหวจากประชาไท ผ่านทางอีเมล ดูรายละเอียดที่ http://groups.google.com/group/prachatai-newspaper

เลขาฯมูลนิธิสืบ นาคะเสถียรแนะรับมือสถานการณ์น้ำ:"ไม่ตกใจ แต่ต้องเตรียมตัว"

Posted: 11 Oct 2011 11:37 AM PDT

เมื่อวานนี้ (11 ต.ค. 54) ใน youtube ของมูลนิธิสืบ นาคะเสถียร มีการเผยแพร่วิดีโอคลิปของนายศศิน เฉลิมลาภ เลขาธิการมูลนิธิสืบนาคะเสถียร ซึ่งได้ให้ความเห็นเรื่องสถานการณ์น้ำท่วมที่อาจเกิดขึ้นกับกรุงเทพมหานครในอีกหนึ่งเดือนข้างหน้า โดยนายศศินอธิบายว่าน้ำอาจจะท่วมหรือไม่ท่วมก็ได้ ต้องคิดว่าความเป็นไปได้อยู่ที่ 50:50

เลขาธิการมูลนิธิสืบ นาคะเสถียร ได้อธิบายปริมาณน้ำที่สะสมในที่ราบภาคกลางว่า มีน้ำที่สะสมที่นครสวรรค์ จากข้อมูลที่รู้ๆ โดยทั่วไปมันมีกว่า 5,000 ล้านลูกบาศก์เมตร คือน้ำที่สะสมและไหลเข้ากรุงเทพฯ ประมาณ 3,000 ลบ.ม.ต่อวินาที และสะสมในสองเขื่อนอยู่ที่ 20,000 ล้าน ลบ.ม.

สำหรับสาเหตุที่น้ำจะท่วมกรุงเทพ มาจากจุดที่นครสวรรค์ที่เป็นจุดเริ่มของที่ราบภาคกลางตอนบนหรือภาคเหนือตอนล่างเป็นที่ราบใหญ่ที่รับน้ำจากแม่น้ำปิงกับแม่น้ำน่าน จากนั้นคืออยุธยาเหมือนเป็นจุดที่สองที่แม่น้ำป่าสัก แม่น้ำน้อย แม่น้ำลพบุรีมารวมกันที่นี่ จุดที่มีข่าวน้ำท่วมมีสองจุดคือที่นครสวรรค์ กับอยุธยาเพราะเป็นแหล่งรวมของแม่น้ำ

ในอ่างเก็บน้ำที่อยู่เหนือสุดคือเขื่อนภูมิพล และเขื่อนสิริกิติ์มีน้ำรวมกัน 20,000 ล้าน ลบ.ม. ที่ราบเจ้าพระยาบริเวณถ้าน้ำท่วมไปหมด สูงราว 1 เมตร ก็จะมีปริมาณ 10,000 ล้าน ลบ.ม.  ปทุมธานี กรุงเทพฯ มีเมืองต่างๆ ที่ไม่ให้น้ำไหลผ่าน มีน้ำ 10,000 ล้าน ลบ.ม. เรากั้นไว้ น้ำก็กระจายอยู่ข้างๆ โดยไม่นับน้ำที่ที่เขื่อนซึ่งมี 20,000 ล้าน ลบ.ม. การระบายน้ำขณะนี้อย่างมากก็ประมาณ 100 ล้าน ลบ.ม.ต่อวัน เต็มที่ไม่เกิน 200 ล้าน ลบ.ม. ต่อวัน

"ถ้าเราจะระบายน้ำ 10,000 ล้าน ลบ.ม.ทั้งหมด ใช้เวลาประมาณ 3 เดือน ถ้าไม่ต้องระบายหมด อยู่ในระดับควบคุมสถานการณ์ได้ ก็ใช้เวลาอย่างน้อยต้องมีเวลาประมาณ 1 เดือนครึ่ง" เลขาธิการมูลนิธิสืบ นาคะเสถียรกล่าว

ที่บอกว่าน้ำจะท่วมกรุงเทพฯ วันที่ 12-14 ต.ค. หรือพีควันที่ 17 ต.ค. เพราะวันพรุ่งนี้น้ำทะเลจะหนุน การระบายน้ำวันละ 100 ล้าน ลบ.ม. ผ่านแม่น้ำเจ้าพระยาและคลองต่างๆ ลงทะเล คงจะลดลง น้ำที่มีมหาศาลก็จะลงไม่ได้ วันนี้กำแพงกั้นน้ำยังอยู่เหนือระดับน้ำ 50-60 ซม. ถ้าคันกั้นน้ำรับได้ อย่างที่ผู้ว่ากรุงเทพฯ ว่า ก็แปลว่าก็รอด คือจะรอดหรือไม่รอดขึ้นอยู่กับว่าคันกั้นน้ำจะเกิดอุบัติเหตุแตกหรือเปล่า หรือภาวะทีจะพลาดขึ้นมา คือมนุษย์ตั้งใจป้องกันเต็มที่แต่ถ้าเกิดพลาดขึ้นมา จะทำให้น้ำท่วมกรุงเทพฯ เพราะมีน้ำจ่ออยู่

สิ่งที่ต้องการจะสื่อสารคือ ไม่ใช่ว่าเราจะผ่านวันที่ 12 - 17 นี้ไป แต่ปริมาณนี้ถ้าใช้เวลาระบายต้องใช้เวลาประมาณเดือนครึ่ง หรือสองเดือน กรุงเทพฯ จะต้องสู้กับภาวะนี้ ในเดือนหนึ่งข้างหน้าเราพร้อมจะโดนน้ำท่วมตลอด ประมาณ 50:50 สิ่งที่ต้องทำคือต้องไม่ตกใจ เราต้องรู้ว่าอะไรที่มัน 50:50 เราก็แค่เก็บของไว้ก่อน ผมคิดว่าอาจจะเป็น 60:40 ด้วยซ้ำไป

ผมอยากเตือนว่า สิ่งที่ต้องทำคือเก็บเอกสารสำคัญ ทรัพย์สินสำคัญที่พร้อมจะขึ้นชั้นบนได้ สองเตรียมดูเรื่องระบบไฟฟ้า ว่าตัดไฟชั้นล่างอย่างไร อีกเรื่องคือถ้า กทม. พลาดแล้วท่วมกรุงเทพฯ ก็คงไม่เหมือนอยุธยาที่ท่วมแล้วท่วมเลย ศักยภาพของ กทม. อาจจะสามารถระบายน้ำออกเหมือนที่นครสวรรค์ทำ ดังนั้นอย่าตกใจว่าต้องกักตุนอาหารมากมาย แต่ทุกคนควรจะตื่นและเตรียมตัวมีถุงยังชีพสำหรับในบ้านให้อยู่ได้สักวันสองวันได้ไหม มีขนมปัง น้ำ แครกเกอร์ มาม่า ซึ่งเก็บไว้ได้โดยไม่เสีย มีไฟฉาย น้ำสะอาด และยา ให้สามารถช่วยเหลือตัวเองให้ได้สักวันสองวัน

"คือต้องไม่ตกใจ แต่ต้องเตรียมตัว สำหรับข้าวของที่อาจเสียหายช่วงน้ำท่วมก็ค่อยๆ เก็บอะไรที่ได้ก็เก็บ เก็บไว้ไม่เสียหาย เหมือนทำบุญ คือถ้าไม่ท่วมก็ดีไป แต่อยากให้รู้สึกว่าปีนี้โอกาสท่วมมี อยากให้ไม่ประมาท เก็บเท่าที่เก็บได้"

ส่วนการป้องกันในระดับแต่ละบ้านคิดว่าอาจจะไม่ทันแล้ว เพราะวัสดุที่เอามาทำหน้าบ้านคงจะน้อย ก็คิดว่าอย่าตกใจ อยากให้รู้ว่ามีโอกาสท่วมเยอะ ท่วมเพราะอะไร ท่วมเพราะอุบัติเหตุ อุบัติภัย หรือนอกจากว่าต่อจากนี้ฝนจะเริ่มตกทางเหนือซึ่งถ้าฟ้าฝนมาโดยธรรมชาติ กทม.อาจจะสู้ไม่ได้ ก็ต้องพร้อมไว้ พอดูจากตัวเองแล้ว ในแต่ละชุมชนอยากให้ขยายไปนะครับ ดูว่าในชุมชนจะมีอาสาสมัครไหม จะพึ่งพาใครในกรณีฉุกเฉิน เช่นเข้าไปช่วยคนแก่ เข้าไปช่วยเด็ก จะรวมกันตรงไหน ใครจะเป็นคนมีจิตอาสา สร้างจุดศูนย์กลางสำหรับข้อมูลข่าวสารและความช่วยเหลือ และตรวจเช็คข่าวลือ ทั้งหมดควรมีการตรวจสอบข่าวจากหลายๆ ด้าน

"ทางมูลนิธิสืบนาคะเสถียร ซึ่งมีสำนักงานอยู่ในกรุงเทพฯ แม้จะไม่เชี่ยวชาญเรื่องนี้ แต่ก็ติดตามข่าวอยู่ตลอด เห็นว่าอยากเตือนคนนนทบุรี ปทุมธานี กรุงเทพ ที่อยู่ในเมือง ที่อยู่ในตลาด ในเทศบาลว่าต้องเก็บข้าวของสำคัญ เตรียมถุงยังชีพ ดูพื้นที่รอบๆ บ้านเราที่ต้องกังวลเป็นพิเศษ คนแก่ เด็กที่ต้องช่วยเหลือ ต้องช่วยๆ กันครับ" นายศศินกล่าว

สมัครรับข่าวความเคลื่อนไหวจากประชาไท ผ่านทางอีเมล ดูรายละเอียดที่ http://groups.google.com/group/prachatai-newspaper

สำนักพิมพ์นิติราษฎร์ อีกหนึ่งภารกิจนิติศาสตร์เพื่อราษฎร

Posted: 11 Oct 2011 10:50 AM PDT

“ถึงเวลาแล้ว ที่จะต้องทำให้บรรดานักนิติศาสตร์และนักกฎหมายทั้งปวงเห็นว่าวิชานิติศาสตร์ในรัฐเสรีประชาธิปไตย ต้องเป็นศาสตร์ที่มุ่งตรงไปที่ความยุติธรรมและความมั่นคงแน่นอนแห่งนิติฐานะ ที่สำคัญวิชานิติศาสตร์ต้องเป็นวิชาการที่เป็นไปเพื่อราษฎร การเรียนการสอนในทางนิติศาสตร์ไม่ควรจำกัดอยู่แต่การท่องจำตัวบท คำอธิบายกฎหมาย หรือคำพิพากษาของศาล การเรียนการสอนในทางนิติศาสตร์ไม่ควรเป็นไปเพื่อให้ผู้เรียนตัดขาดตัวเองออกจากสังคม ไต่เต้าบันไดแห่งความสำเร็จทางวิชาชีพเพียงเพื่อในที่สุดแล้วจะได้อยู่ในที่สูงกว่าราษฎร และใช้อำนาจหรือการผูกขาดความรู้ทางกฎหมายเอารัดเอาเปรียบกดขี่ข่มเหงราษฎร วิชานิติศาสตร์ควรจะสอนให้ผู้เรียนได้ตระหนักว่าเมื่อสำเร็จการศึกษาและเริ่มต้นประกอบวิชาชีพโดยเข้าไปเป็นองค์กรของรัฐและทรงอำนาจในการกระทำการทางกฎหมาย อำนาจที่ตนกำลังใช้อยู่นั้นโดยเนื้อแท้แล้ว หาใช่อำนาจของตนเองไม่ แต่เป็นอำนาจของราษฎร ผู้ที่ศึกษาวิชานิติศาสตร์ควรจะศึกษาอย่างมีจิตใจวิพากษ์วิจารณ์ และเมื่อสำเร็จการศึกษาไปแล้ว จะต้องใช้กฎหมายโดยซื่อตรงต่อหลักวิชาที่ยอมรับกันเป็นยุติว่ามีเหตุผลอธิบายได้ ไม่คำนึงถึงหน้าคน การใช้กฎหมายเช่นนี้ในที่สุดแล้วย่อมเป็นไปเพื่อประโยชน์แก่ราษฎรทั้งหลาย”

ข้างต้นคือ คำประกาศสำนักพิมพ์นิติราษฎร์  ซึ่งเป็นอีกช่องทางหนึ่งของ คณะนิติราษฎร์:นิติศาสตร์เพื่อราษฎร นอกเหนือจาก เว็บไซต์   www.enlightened-jurists.com  ที่เปิดตัวมาได้ร่วม 1 ปี ในการต่อสู้ทางความคิด

คำประกาศดังกล่าวได้กล่าวถึงวัตถุประสงค์ของการตั้งสำนักพิมพ์ว่า “เพื่อหวังเป็นกลไกอีกประการหนึ่งในการสถาปนาอุดมการณ์นิติรัฐ-ประชาธิปไตยให้เจริญงอกงามในวงวิชาการนิติศาสตร์ เพื่อผลิตตำราทางนิติศาสตร์ที่มีคุณภาพ เพื่อนำเอาตำราทางนิติศาสตร์ในอดีตที่สนับสนุนหลักนิติรัฐ-ประชาธิปไตยกลับมาพิมพ์ขึ้นใหม่เพื่อให้คนรุ่นหลังได้ศึกษาค้นคว้าได้อย่างสะดวกขึ้น เราหวังว่าผู้อ่านจะได้ประโยชน์จากหนังสืออันทรงคุณค่าต่างๆที่เราจะได้จัดพิมพ์ขึ้น”

ผลงานหนังสือเล่มแรกของสำนักพิมพ์นิติราษฎร์ คือการจัดพิมพ์หนังสือกฎหมายปกครอง ภาคทั่วไป  โดยวรเจตน์ ภาคีรัตน์  ซึ่งเป็นตำราที่ปรับปรุงและขยายความมาจากหนังสือ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายปกครอง : หลักการพื้นฐานของกฎหมายปกครองและการกระทำทางปกครอง  หนังสือเล่มนี้ผู้เขียนได้อธิบายความหมายของฝ่ายปกครอง ความหมายของกฎหมายปกครอง หลักการพื้นฐานของกฎหมายปกครอง ดุลพินิจของฝ่ายปกครอง ตลอดจนการกระทำของฝ่ายปกครอง ไม่ว่าจะเป็นคำสั่งทางปกครอง กฎ ปฏิบัติการทางปกครอง สัญญาทางปกครอง นอกจากนี้ยังได้อธิบายการพิจารณาทางปกครอง การบังคับทางปกครอง และความรับผิดของฝ่ายปกครองในส่วนของความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ด้วย

แม้โดยหลักแล้ว ผู้เขียนมุ่งหวังให้หนังสือเล่มนี้เป็นหนังสือประกอบการฟังคำบรรยายวิชากฎหมายปกครอง  แต่ก็หวังว่าจะเป็นประโยชน์ต่อผู้สนใจวิชาการทางด้านกฎหมายปกครอง ตลอดจนเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาความรู้ในทางกฎหมายปกครองในประเทศไทยต่อไป

 

..........................

คำประกาศสำนักพิมพ์นิติราษฎร์ 

            ตลอดระยะเวลาหลายปีที่ผ่านมา โดยเฉพาะอย่างยิ่งนับตั้งแต่การรัฐประหารเมื่อวันที่ ๑๙ กันยายน ๒๕๔๙ เราปฏิเสธไม่ได้ว่ากฎหมายถูกใช้เป็นเครื่องมือช่วงชิงอำนาจ สร้างความชอบธรรมให้กับอำนาจ ตลอดจนทำลายอำนาจ การช่วงชิง สร้างความชอบธรรม และทำลายล้างในนามของกฎหมายและความยุติธรรมนั้น ไม่เพียงแต่สร้างบาดแผลที่ลึกอย่างยิ่งให้กับวงการกฎหมายและวงวิชาการนิติศาสตร์ไทยเท่านั้น แต่ยังมีผลสร้างความอยุติธรรมอย่างรุนแรงให้เกิดขึ้นกับผู้คนในสังคมโดยรวมด้วย เหตุที่ทำให้เกิดสภาพการณ์แบบนี้ขึ้นในสังคม ก็เนื่องจากผู้คนจำนวนหนึ่งที่มีบทบาทชี้นำสังคม และนักกฎหมายที่เป็นชนชั้นนำปิดล้อมความคิดความอ่านของผู้คนด้วยการยกเอาข้อธรรม ความเชื่อในทางจารีตประเพณี ตลอดจนบุคคลที่ถูกสร้างให้เป็นที่ยึดถือศรัทธาขึ้นเป็นกรงขังการใช้เหตุผลและสติปัญญาของผู้คน

เพื่อจะไปให้พ้นจากสภาวะเช่นนี้ สังคมไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่งวงการกฎหมายและวงวิชาการนิติศาสตร์จะต้องก้าวข้ามยุคมืดไปสู่ยุคแห่งความสว่างไสวทางสติปัญญาหรือที่บางท่านเรียกว่ายุคภูมิธรรมหรือยุคพุทธิปัญญา (Enlightenment; les Lumières; Aufklärung) ดังที่ได้เคยเกิดมาแล้วในยุโรป โดยเฉพาะอย่างยิ่งยุคภูมิธรรมหรือพุทธิปัญญาในช่วงศตวรรษที่ ๑๗ และ ๑๘ ซึ่งในที่สุดแล้วเป็นรากฐานสำคัญให้เกิดการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางสังคมไปสู่ความเป็นประชาธิปไตย ลักษณะสำคัญของ Enlightenment คือ การเกิดความเคลื่อนไหวทางความคิดในทุกแขนงวิชา โดยการเคลื่อนไหวทางความคิดดังกล่าวมีลักษณะเป็นการตั้งคำถาม การวิพากษ์วิจารณ์ การสงสัยต่อสิ่งที่ยอมรับเด็ดขาดเป็นยุติ ห้ามโต้แย้ง ห้ามคิดต่าง เช่น ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ หรือคำสอนทางศาสนา ทั้งนี้โดยที่ถือว่า “เหตุผล” มีคุณค่าเท่าเทียมกับ “ความดี” การใช้สติปัญญาครุ่นคิดตรึกตรอง ไม่หลงเชื่ออะไรอย่างงมงายมีค่าเป็นคุณธรรม ถือว่ามนุษย์ทั้งหลายสามารถที่จะได้รับการฝึกฝนให้ใช้สติปัญญาได้ และถือว่าเหตุผลเป็นเครื่องมือที่สำคัญในการรับรู้ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นรอบตัวอย่างเท่าทัน ยุคนี้เป็นยุคที่เกิดการเรียกร้องให้มีขันติธรรมในเรื่องความเชื่อทางศาสนา กล่าวให้ถึงที่สุด ยุคแห่งความสว่างไสวทางสติปัญญา คือ ยุคที่เสรีภาพจะเข้าแทนที่สมบูรณาญาสิทธิ์ ความเสมอภาคจะเข้าแทนที่ระบบชนชั้น เหตุผล ความรู้ วิธีคิดแบบวิทยาศาสตร์จะเข้าแทนที่อคติและความงมงายทั้งหลาย

ถึงแม้ว่าในปัจจุบันนี้นักคิดสกุลหลังสมัยใหม่ (Postmodernism) และนักคิดในสายถอดรื้อโครงสร้าง (Deconstruction) จะปฏิเสธคุณค่าภววิสัยและความจริงปรมัตถ์และเห็นว่าตรรกะไม่ใช่รากฐานเพียงประการเดียวของความรู้ของมนุษย์ก็ตาม แต่เราปฏิเสธไม่ได้เลยว่าหากเราไม่เริ่มต้นตั้งคำถาม และใช้สติปัญญาของเราอันเปรียบเสมือนแสงสว่างขับไล่ความมืดมนคืออคติและความงมงายแล้ว เราก็คงจะสร้างสรรค์สังคมมนุษย์ที่ยุติธรรมไม่ได้ แม้ว่ายุคแห่งความสว่างไสวทางสติปัญญาจะเป็นเพียงยุคสมัยหนึ่งในประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติ แต่การใช้เหตุผลและสติปัญญาแสวงหาความจริงเป็นกระบวนการที่ไม่รู้จักจบสิ้น เราปฏิเสธความเชื่อ จารีตอันงมงายอันปรากฏในวงวิชาการนิติศาสตร์ และอยู่บนหนทางของการตั้งคำถาม วิพากษ์วิจารณ์ และท้าทายสถาบันทั้งหลายทั้งปวงในทางกฎหมายที่ไม่ตั้งอยู่บนรากฐานของเหตุผลที่สามารถยอมรับได้ เราเห็นด้วยกับคำขวัญของยุคแห่งความสว่างไสวทางสติปัญญา คำขวัญที่ Immanuel Kant (ค.ศ.๑๗๒๔-๑๘๐๔) นักปรัชญาผู้เรืองนามชาวเยอรมันให้ไว้ว่า  “จงกล้า ที่จะใช้ปัญญาญานแห่งตน!” (Habe Mut, dich deines eigenen Verstandes zu bedienen!)

หากเราย้อนกลับไปที่การเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบที่กษัตริย์อยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญแล้ว เราจะพบความจริงประการหนึ่งว่าวิธีคิดของคนในวงการนิติศาสตร์และระบบตลอดจนโครงสร้างขององค์กรในกระบวนการยุติธรรมโดยเฉพาะอย่างยิ่งศาลยุติธรรม มีความเปลี่ยนแปลงน้อยมาก อาจกล่าวได้ว่าอุดมการณ์ประชาธิปไตยซึ่งเป็นอุดมการณ์ของการเปลี่ยนแปลงการปกครองนั้น ไม่ได้ถูกปลูกฝังบ่มเพาะให้เข้าสู่ความรับรู้ของบุคคลในวงการกฎหมายอย่างที่ควรจะเป็น การเกิดสิ่งที่เรียกว่า “ตุลาการภิวัตน์” ในช่วงก่อนการรัฐประหาร ๑๙ กันยายน ๒๕๔๙ ย่อมต้องถือว่าเป็นผลพวงของความล้มเหลวในอันที่จะสถาปนาอุดมการณ์นิติรัฐ-ประชาธิปไตยให้เป็นอุดมการณ์หลักในวงการกฎหมายและวงวิชาการนิติศาสตร์ เหตุผลของความล้มเหลวดังกล่าวมีอยู่หลายประการ แต่เหตุผลที่สำคัญที่สุดประการหนึ่งน่าจะเนื่องมาจากการที่สถาบันที่อบรมให้ความรู้ทางวิชาการและฝึกฝนวิชาชีพทางกฎหมายตัดตัวเองออกจากการเรียนการสอนกฎหมายมหาชนในแง่ของหลักการและคุณค่าที่แท้จริง นับตั้งแต่ พ.ศ. ๒๔๙๐ เป็นต้นมา เราจึงได้เห็นการรัฐประหารและล้มล้างรัฐธรรมนูญครั้งแล้วครั้งเล่า เราเห็นบรรดานักกฎหมายรุ่นแล้วรุ่นเล่าที่พร้อมจะรับใช้คณะรัฐประหารและผู้ที่อยู่เบื้องหลังการรัฐประหาร และพร้อมที่จะละทิ้งหลักวิชาที่ร่ำเรียนมาเพื่อตอบสนองความต้องการของการทำรัฐประหาร เราเห็นศาลยอมรับบรรดาประกาศคำสั่งของคณะรัฐประหารให้มีค่าบังคับเป็นกฎหมาย โดยแทบจะไม่มีการตั้งคำถามถึงความยุติธรรมในทางเนื้อหาของบรรดาประกาศหรือคำสั่งเหล่านั้น สิ่งเหล่านี้นอกจากจะมีผลทำลายคุณค่าของวิชานิติศาสตร์ลงอย่างถึงรากแล้ว ในที่สุดยังเท่ากับเป็นการทำร้ายราษฎรผู้เป็นเจ้าของอำนาจรัฐด้วย

ถึงเวลาแล้ว ที่จะต้องทำให้บรรดานักนิติศาสตร์และนักกฎหมายทั้งปวงเห็นว่าวิชานิติศาสตร์ในรัฐเสรีประชาธิปไตย ต้องเป็นศาสตร์ที่มุ่งตรงไปที่ความยุติธรรมและความมั่นคงแน่นอนแห่งนิติฐานะ ที่สำคัญวิชานิติศาสตร์ต้องเป็นวิชาการที่เป็นไปเพื่อราษฎร การเรียนการสอนในทางนิติศาสตร์ไม่ควรจำกัดอยู่แต่การท่องจำตัวบท คำอธิบายกฎหมาย หรือคำพิพากษาของศาล การเรียนการสอนในทางนิติศาสตร์ไม่ควรเป็นไปเพื่อให้ผู้เรียนตัดขาดตัวเองออกจากสังคม ไต่เต้าบันไดแห่งความสำเร็จทางวิชาชีพเพียงเพื่อในที่สุดแล้วจะได้อยู่ในที่สูงกว่าราษฎร และใช้อำนาจหรือการผูกขาดความรู้ทางกฎหมายเอารัดเอาเปรียบกดขี่ข่มเหงราษฎร วิชานิติศาสตร์ควรจะสอนให้ผู้เรียนได้ตระหนักว่าเมื่อสำเร็จการศึกษาและเริ่มต้นประกอบวิชาชีพโดยเข้าไปเป็นองค์กรของรัฐและทรงอำนาจในการกระทำการทางกฎหมาย อำนาจที่ตนกำลังใช้อยู่นั้นโดยเนื้อแท้แล้ว หาใช่อำนาจของตนเองไม่ แต่เป็นอำนาจของราษฎร ผู้ที่ศึกษาวิชานิติศาสตร์ควรจะศึกษาอย่างมีจิตใจวิพากษ์วิจารณ์ และเมื่อสำเร็จการศึกษาไปแล้ว จะต้องใช้กฎหมายโดยซื่อตรงต่อหลักวิชาที่ยอมรับกันเป็นยุติว่ามีเหตุผลอธิบายได้ ไม่คำนึงถึงหน้าคน การใช้กฎหมายเช่นนี้ในที่สุดแล้วย่อมเป็นไปเพื่อประโยชน์แก่ราษฎรทั้งหลาย

            เราก่อตั้งสำนักพิมพ์นิติราษฎร์ขึ้น เพื่อหวังเป็นกลไกอีกประการหนึ่งในการสถาปนาอุดมการณ์นิติรัฐ-ประชาธิปไตยให้เจริญงอกงามในวงวิชาการนิติศาสตร์ เพื่อผลิตตำราทางนิติศาสตร์ที่มีคุณภาพ เพื่อนำเอาตำราทางนิติศาสตร์ในอดีตที่สนับสนุนหลักนิติรัฐ-ประชาธิปไตยกลับมาพิมพ์ขึ้นใหม่เพื่อให้คนรุ่นหลังได้ศึกษาค้นคว้าได้อย่างสะดวกขึ้น เราหวังว่าผู้อ่านจะได้ประโยชน์จากหนังสืออันทรงคุณค่าต่างๆที่เราจะได้จัดพิมพ์ขึ้น และจะได้ติดตามผลงานของสำนักพิมพ์นิติราษฎร์ในอันดับถัดๆไป

 

                                                    คณะนิติราษฎร์ : นิติศาสตร์เพื่อราษฎร
                                                    ก่อตั้ง ๑๙ กันยายน ๒๕๕๓

 

 

สมัครรับข่าวความเคลื่อนไหวจากประชาไท ผ่านทางอีเมล ดูรายละเอียดที่ http://groups.google.com/group/prachatai-newspaper

ชี้ชายแดนใต้ จุดยุทธศาสตร์อาเซียน จี้คนสามจังหวัดพัฒนาภาษารับมือ

Posted: 11 Oct 2011 10:13 AM PDT

เวลา 9.00 น. เมื่อวันที่ 8 ตุลาคม 2554 ที่ห้องประชุมอัล–อิมาม อัล–ฆอซาลีย์ อาคารอิสลามนานาชาติ วิทยาลัยอิสลาม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี นักศึกษาปริญญาโท สาขาวิชาเอกบริหารและจัดการการศึกษาอิสลาม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ได้จัดสัมมนาเรื่องการบริหารและการจัดการการศึกษาใน 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้เพื่อรองรับประชาคมอาเซียน โดยกลุ่มเป้าหมายหลักเป็นผู้อำนวยการโรงเรียนจาก 60 โรง ใน 5 จังหวัดชายแดนใต้ และนักศึกษาทั่วไปประมาณ 30 คน

ในการสัมมนาครั้งนี้ มีการอภิปรายเรื่องการบริหารและการจัดการการศึกษาใน 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ เพื่อรองรับประชาคมอาเซียน ผู้อภิปรายประกอบด้วยนายสุกรี หลังปูเต๊ะ คณบดีคณะศิลปศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา และนายอดินันท์ ปากบารา รองเลขาธิการศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้

สุกรี หลังปูเต๊ะ
สุกรี หลังปูเต๊ะ

นายสุกรี อภิปรายว่า ห้าจังหวัดชายแดนภาคใต้เป็นหัวใจของภูมิรัฐศาสตร์อาเซียน สภาพทำเลเอื้อต่อการขนส่งสินค้า ต้นทุนการขนส่งต่ำ แต่ได้ประโยชน์สูงสุด เพราะเป็นเส้นทางเชื่อมกับห้าประเทศทางตอนใต้ของประเทศไทยคือ ประเทศมาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และบรูไนดารุสลาม ค่าใช้จ่ายในการขนส่งสินค้า จึงน้อยกว่าด่านชายแดนอื่นของประเทศไทย ถึงแม้จังหวัดชายแดนภาคใต้จะได้เปรียบประเทศสมาชิกอื่นๆ ในเชิงภูมิรัฐศาสตร์อาเซียน แต่ความตื่นตัวและการเตรียมความพร้อมยังไม่มากเท่าที่ควร สังเกตจากศักยภาพของเยาวชนไทย ที่ยังไม่สามารถใช้ภาษาต่างๆ รวมทั้งภาษาไทยที่เป็นภาษาของตัวเองได้ดี ขณะที่ประเทศสมาชิกอาเซียนอื่นๆ ได้สร้างบุคคลากรรองรับประชาคมอาเซียนมานานแล้ว

นายสุกรี อภิปรายต่อไปว่า แม้การศึกษาไม่ได้ถูกระบุว่า เป็นเสาหลักของอาเซียน แต่การศึกษาเป็นเครื่องมือที่จะส่งเสริมให้สามเสาหลักของอาเซียนเข้มแข็ง จังหวัดชายแดนภาคใต้ จึงต้องบริหารการศึกษาสร้างคนให้พร้อมรับมือกับการมาถึงของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน โดยเร่งเสริมศักยภาพด้านภาษาอย่างน้อย 4 ภาษาหลักคือ ภาษามลายูกลาง ภาษาอังกฤษ ภาษาอาหรับ ขณะที่ภาษาไทยเองก็มีความสำคัญ เพราะภาษาไทยยังเป็นที่ต้องการของตลาดอาเซียน โดยเฉพาะประเทศมาเลเซียที่ต้องการครูจากประเทศไทย ไปสอนภาษาไทยให้กับนักเรียนมาเลเซีย เพราะต้องการให้นักเรียนมาเลเซียใช้ภาษาประเทศเพื่อนบ้านได้ ขณะที่นักเรียนไทยยังมีปัญหาพูดภาษาไทยไม่ชัด ซึ่งจะเป็นจุดบอดของไทยในการแข่งขันในเวทีอาเซียน

นายสุกรี เปิดเผยว่า มหาวิทยาลัยอิสลามยะลาเคยส่งนักศึกษา ไปร่วมกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับนักศึกษามาเลเซีย เชื้อชาติไทย โดยใช้ภาษาไทยปรากฏว่า นักศึกษามาเลเซียสามารถใช้ภาษาไทยได้ชัดเจนกว่า นักศึกษาจากประเทศไทย ขอฝากไปถึงครูผู้สอนตามโรงเรียนต่างๆ ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ให้ช่วยกันคิดด้วยว่า จะสร้างเยาวชนในพื้นที่ให้สามารถใช้ภาษาไทย อังกฤษและภาษามลายูเพื่อการสื่อสารระหว่างประเทศในอาเซียนได้อย่างไร

“ตอนนี้ครูในจังหวัดสตูล กำลังเตรียมสอนนักเรียนให้ใช้ภาษาไทยได้ถูกต้องชัดเจน เพราะประเทศมาเลเซียกำลังเตรียมเปิดสอนภาษาประเทศเพื่อนบ้านในอาเซียน จึงต้องการครูสอนภาษาไทยไปสอนนักเรียนมาเลเซีย สำหรับจุดเด่นของจังหวัดชายแดนภาคใต้อีกอย่างคือ ยังคงรักษษภาษามลายูอักษรยาวี ซึ่งเป็นภาษาที่รวบรวมภาษาใหญ่ๆ ของโลกถึงห้าภาษาเข้าด้วยกันเอาไว้ได้ ขณะที่ประเทศบรูไน ดารุสลาม พยายามจะอนุรักษ์เอาไว้ แต่ไม่สามารถต้านกระแสความเจริญที่ลบล้างการใช้ภาษามลายูอักษรยาวีได้” นายสุกรี กล่าว

นายสุกรี อภิปรายอีกว่า นอกจากนี้ยังมีความเคลื่อนไหวในวงการอาเซียน ที่คนสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ต้องติดตาม เช่น ประเทศปาปัวนิวกีนี อาจจะเข้าเป็นประเทศสมาชิกของประชาคมอาเซียน แม้จะได้รับเอกราชหลังประเทศติมอร์เลสเต้ แต่ความพร้อมที่จะเข้าเป็นประเทศสมาชิกประชาคมอาเซียนมีมากกว่าประเทศติมอร์เลสเต้ ตอนนี้รอดูท่าทีของประเทศสิงคโปร์ ถ้าสิงคโปร์ยอมรับ ประเทศไทยจะมีเพื่อนบ้านเพิ่มขึ้นมาอีกหนึ่งประเทศ

และเนื่องจากประชาคมอาเซียนเป็นเรื่องของกลุ่มประเทศที่มีความเชื่อ อุดมการณ์เหมือนกัน จึงทำให้คนห้าจังหวัดชายแดนภาคใต้ มีโอกาสได้รับประโยชน์มากกว่าประเทศอื่น ทั้งในมิติของผู้ที่นับถือศาสนาอิสลาม ที่เป็นประชากรหลักของอาเซียน ซึ่งเชื่อมสู่โลกอาหรับได้ด้วย ประชากรมุสลิมในสมาคมอาเซียนสามร้อยล้านคน จะทำให้หลายโครงการที่มุสลิมประเทศไทยผลักดันด้วยความยากลำบาก มีหนทางความเป็นไปได้สูงขึ้น

นายสุกรี อภิปรายต่อไปว่า รัฐบาลไทยพูดถึงการพัฒนาเศรษฐกิจมากกว่าการศึกษา เป็นความตื่นตัวของประเทศกลับมองถึงเรื่องใหญ่ที่ใช้งบประมาณระดับพันล้าน แต่ส่วนที่คนจังหวัดชายแดนใต้จะสามารถจับต้องได้จริงเป็นเรื่องของสังคมและวัฒนธรรมมากกว่า เพราะคนจังหวัดชายแดนใต้มีความสัมพันธ์ในอดีตกับประเทศต่างๆ ในอาเซียนอย่างประเทศมาเลเซียและอินโดนีเซีย จุดนี้จะเป็นจุดที่เอื้อต่อความร่วมมือในอนาคต รวมถึงการลงทุนและการต่อรองทางการค้าในโลกมุสลิม

“กองทุนฮัจย์อาเซียน กองทุนซากาตอาเซียน เกิดขึ้นแน่นอน มุสลิมที่มีอยู่ทุกประเทศของอาเซียนจะมีพลังในการต่อรอง รวมทั้งต่อรองขอโควต้าฮัจย์เพิ่ม สำหรับประเทศไทยมีความสัมพันธ์ที่ไม่ดักับประเทศซาอุดิอาราเบีย ถึงจะเจรจาต่อรองขอเพิ่มโควต้าให้กับมุสลิมไทย ก็ไม่เป็นผล” นายสุกรี กล่าว

นายสุกรี เปิดเผยว่า ประเทศมาเลเซียมีผู้ไปแสวงบุญที่ประเทศซาอุดิอารเบียมากกว่าจำนวนโควต้าที่ตั้งไว้เกือบทุกปีคือ ได้โควต้าสองหมื่นคนแต่ได้ไปจริงสี่หมื่นคน ขณะที่ประเทศอินโดนีเซียไปได้มากกว่าสองแสนคน เพราะกลุ่มประเทศมุสลิมยอมรับการบริหารจัดการของประเทศมาเลเซีย ประเทศมาเลเซียจึงได้รับสิทธิพิเศษเพิ่มจำนวนโควต้าทุกปี ถ้าประเทศไทยอาศัยความน่าเชื่อถือของสองประเทศนี้ร่วมกันต่อรองการขอโควต้าฮัจย์ ในนามมุสลิมอาเซียนจะเป็นโอกาสของประเทศไทยที่จะได้โควต้าไปฮัจย์มากขึ้น

“ประเด็นที่น่าสนใจก็คือ ประเทศที่ตื่นตัวและพัฒนาเตรียมพร้อมรับมือประชาคมอาเซียน กลับเป็นประเทศนอกอาเซียน เช่น ประเทศจีนเตรียมตัวรับมือ ตั้งแต่มีการลงนามตกลงเป็นประชาคมอาเซียนของประเทศสมาชิกเมื่อหลายปีก่อน ผมมีโอกาสสอนที่มหาวิทยาลัยฉินหนานของประเทศจีน ในสถาบันเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จึงทราบว่าประเทศจีนเตรียมรับมืออาเซียนตั้งแต่กลับมาจากการเป็นสักขีพยานในการลงนามอาเซียน โดยประกาศให้มหาวิทยาลัยฉินหนานเป็นมหาวิทยาลัยนำร่องสร้าง 10 ผู้เชี่ยวชาญพิเศษ โดยต้องมีความเชี่ยวชาญในข้อมูลประเทศสมาชิกอาเซียนทุกประเทศ ซึ่งในอนาคตกลุ่มผู้เชี่ยวชาญกลุ่มนี้จะให้ข้อมูลเบื้องต้นแก่นักธุรกิจของจีน ก่อนที่จะลงมาลงทุนจริงในกลุ่มประเทศอาเซียน” นายสุกรี กล่าว

นายสุกรี ย้ำต่อผู้เข้าสัมมนาว่า จังหวัดชายแดนภาคใต้ เป็นพลังสำคัญของประเทศไทยในการเข้าถึงกลุ่มประเทศอาเซียน แต่รัฐบาลไทยยังมองไม่เห็นบริบทนี้ โครงการนำร่องโรงเรียน Prince of ASEAN ก็มาไม่ถึงจังหวัดชายแดนภาคใต้ จึงไม่เห็นว่าประเทศไทยจะเห็นศักยภาพตรงนี้ได้อย่างไร คงต้องพึ่งการพัฒนาตัวเองพื้นที่ให้ศักยภาพเหล่านี้ปรากฏออกมา จนเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาประเทศ ผู้บริหารการศึกษาจึงต้องเปลี่ยนวิธีคิด และเปลี่ยนกระบวนการเรียนการสอนใหม่ เพราะวิธีคิดแบบเดิมไม่สามารถทำให้เยาวชนไทยได้พัฒนาศักยภาพเท่าที่ควร โดยเฉพาะในการวิเคราะห์และการใช้ทักษะชีวิต

“การสร้างเยาวชนเพื่อรองรับประชาคมอาเซียน ต้องทำให้เด็กมีทักษะในการใช้ชีวิต เข้าใจความแตกต่างหลากหลาย นี่คือตัวชี้วัดอนาคตของประเทศไทยว่า จะเท่าทันหรือล้าหลังประเทศอื่นในอาเซียน” นายสุกรี กล่าว

สมัครรับข่าวความเคลื่อนไหวจากประชาไท ผ่านทางอีเมล ดูรายละเอียดที่ http://groups.google.com/group/prachatai-newspaper

ปัตตานีตั้งศูนย์รับมือภัยพิบัติ สื่อยะลา-ภาคเอกชนร่วมบริจาค

Posted: 11 Oct 2011 10:08 AM PDT

เมื่อเวลา 09.30 น.วันที่ 11 ตุลาคม 2554 ที่ห้องประชุม 1 ชั้น 4 ศาลากลางจังหวัดปัตตานี มีการประชุมเพื่อเตรียมการป้องกันและแก้ปัญหาอุทกภัย วาตภัย และดินโคลนกล่ม ประจำปี 2554 มีหน่วยงานต่างๆ ในจังหวัดปัตตานี เข้าร่วมประมาณ 30 คน โดยมีว่าที่ ร.ต.เลิศเกียรติ วงศ์โพธิพันธ์ รองผู้ว่าราชการปัตตานี เป็นประธาน

ว่าที่ ร.ต.เลิศเกียรติ วงศ์โพธิพันธ์
ว่าที่ ร.ต.เลิศเกียรติ วงศ์โพธิพันธ์

ว่าที่ ร.ต.เลิศเกียรติ ได้สั่งให้นายอำเภอทุกอำเภอเตรียมพร้อมรับมืออุทกภัย วาตภัย และดินโคลนกล่มที่อาจจะเกิดขึ้นในอีกไม่วันข้างหน้า เนื่องจากเข้าสู่ฤดูฝน โดยให้ทำงานร่วมกับผู้นำท้องถิ่น และใช้งบประมาณอย่างมีประสิทธิภาพที่สุด ส่วนจังหวัดจะดูแลด้านนโยบายและดูแลในส่วนที่ทางอำเภอไม่สามารถดำเนินการแก้ไขได้

ว่าที่ ร.ต.เลิศเกียรติ ได้สั่งการให้แต่ละอำเภอ แต่งตั้งชุดอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน (อปพร.) เพื่อติดตามเฝ้าระวังการเกิดอุทกภัย วาตภัย และโคลนดินกล่ม การแจ้งเตือนและมีแผนซักซ้อมการช่วยเหลือผู้ประสบภัย

นอกจากนี้ ยังสั่งการให้สำรวจคนพิการที่ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ในพื้นที่ของตนเอง เพื่อให้ง่ายต่อการช่วยเหลือในกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉิน

ว่าที่ ร.ต.เลิศเกียรติ กล่าวว่า สำหรับการให้ความช่วยเหลือนั้น ขอให้นายอำเภอเตรียมเครื่องมือต่างๆ ให้พร้อม เช่น เรือ น้ำดื่ม น้ำใช้ เทียนไข เสบียงอาหาร รวมทั้งสำรวจเส้นทางเข้าไปช่วยเหลือประชาชน ในกรณีเกิดภัยพิบัติ

ว่าที่ ร.ต.เลิศเกียรติ ยังได้สั่งการให้นายอำเภอสำรวจเส้นทางน้ำไหล เพื่อหาทางเร่งระบายน้ำ โดยเฉพาะในพื้นที่ที่เกิดเหตุน้ำท่วมซ้ำซาก

ส่วนการฟื้นฟู่หลังจากน้ำลด ว่าที่ ร.ต.เลิศเกียรติสั่งการให้เกษตรอำเภอ ประมงอำเภอและปศุสัตว์อำเภอรีบจดทะเบียนเกษตรกรโดยเร็ว เพื่อให้มีหลักฐานในการให้ช่วยเหลือประชาชนหลังเกิดเหตุน้ำท่วม โดยกรณีเกิดภัยพิบัติอย่างรุนแรง ให้อำเภอยกร่างประกาศพื้นที่ภัยพิบัติ โดยต้องถ่ายรูปทั้งก่อนและหลังเกิดเหตุ เพื่อประกอบการเบิกใช้งบประมาณฉุกเฉินได้

ว่าที่ ร.ต.เลิศเกียรติ ยังสั่งการให้สำนักงานประชาสัมพันธ์จังหวัดปัตตานี ประชาสัมพันธ์เรื่องการป้องกันและแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า เพื่อให้ประชาชนเตรียมรับมือภัยพิบัติ เพื่อให้สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ก่อนในเบื้องต้น ซึ่งจะช่วยแบ่งเบาภาระของหน่วยงานของรัฐได้

ว่าที่ ร.ต.เลิศเกียรติ แจ้งต่อที่ประชุมด้วยว่า จังหวัดได้ตั้งศูนย์อำนวยการป้องกันแก้ไขอุทกภัย วาตภัย และดินโคลนถล่มจังหวัดปัตตานีแล้ว และได้เปิดหมายเลขโทรศัพท์สายด่วน 1880 เพื่อแจ้งเหตุแล้วตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไป ทั้งนี้เวลาประมาณ 11.00 น.วันที่ 12 ตุลาคม 2454 ชาวมุสลิมในจังหวัดปัตตานีจะร่วมละหมาดฮายัต (ละหมาดขอพร) ที่มัสยิดกลางจังหวัดปัตตานี เพื่อขอพรจากอัลลอฮ ขอให้คนไทยทุกภูมิภาคผ่านพ้นภัยพิบัติโดยเร็วที่สุด และขอให้ป้องกันจังหวัดปัตตานีไม่ให้ประสบภัยด้วย

ว่าที่ ร.ต.เลิศเกียรติ แจ้งอีกว่า ส่วนคนไทยพุทธจะร่วมขอพรจากสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ให้คนไทยผ่านพ้นภัยพิบัติและขอให้ปัตตานีปลอดภัย โดยจะร่วมขอพรที่วัดใหม่หรือวัดหลักเมืองปัตตานี เวลาประมาณ 11.00 น. ในวันเดียวกันด้วย

นายปัญญศักดิ์ โสภณวสุ หัวหน้าสำนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดปัตตานี เปิดเผยว่า มีชุมชนที่มักมีปัญหาน้ำท่วมขังในเขตอำเภอเมืองปัตตานี ส่วนมากจะอยู่ในตำบลปะกาฮะรัง ตำบลตะลุโบะ ตำบลบาราเฮาะ เช่น บริเวณหมู่บ้านจางา ตำบลปะกาฮะรัง บ้านจือโระ ตำบลบานา อำเภอเมือง ที่ผ่านมาได้มีการลงพื้นที่สำรวจความพร้อมรองรับน้ำท่วมแล้ว พบว่าจะต้องสร้างท่อระบายน้ำเพิ่ม เพื่อให้การระบายน้ำได้ดีขึ้น

นายปัญญศักดิ์ เปิดเผยต่อไปว่า สำหรับการเตรียมการรับมือกับภัยพิบัติของจังหวัดปัตตานีปีนี้ดีขึ้นเรื่อยๆ โดยได้บทเรียนจากเหตุน้ำท่วมเมื่อปี 2548 ซึ่งจังหวัดปัตตานีเป็นที่รับน้ำมาจากจังหวัดยะลา เพื่อระบายลงสู่ทะเล โดยมีการเตรียมอุปกรณ์ต่างๆ ไว้แล้ว เช่น เรือเล็ก เครื่องสูบน้ำขนาดใหญ่ 3 เครื่อง ขนาดเล็ก 3 เครื่อง และสุขาเคลื่อนที่ 21 ห้อง เป็นต้น นอกจากนี้ยังได้จัดเตรียมจุดรองรับการอพยพประชาชนให้เพียงพอต่อการอพยพแล้ว

“หากเกิดพายุดีเปรสชั่นพัดถล่มชายฝั่งปัตตานีเหมือนปีที่แล้ว ซึ่งจะทำให้คลื่นซัดเข้าฝั่งอย่างรวดเร็วนั้น ต้องอพยพคนออกจากพื้นที่ประสบภัยอย่างเดียว เพื่อเอาชีวิตรอด แต่การรับมือปีนี้ย่อมดีกว่าแน่นอน” นายปัญญศักดิ์ กล่าว

สื่อมวลชนยะลา-ภาคเอกชนร่วมบริจาค

เมื่อเวลา 14.00 น. วันเดียวกัน ที่ศูนย์บรรเทาสาธารณภัยเทศบาลนครยะลา ถนนเพชรเกษม อำเภอเมือง จังหวัดยะลา นายกฤษฎา บุญราช ผู้ว่าราชการจังหวัดยะลา นายพงษ์ศักดิ์ ยิ่งชนม์เจริญ นายกเทศมนตรีนครยะลา ได้เดินทางมาตรวจเยี่ยมศูนย์รับบริจาคช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย ที่เทศบาลนครยะลาตั้งขึ้น เพื่อให้ชาวจังหวัดยะลา ได้ร่วมบริจาคข้าวสาร อาหารแห้ง รวมทั้งสิ่งของต่างๆ ที่จะนำไปช่วยเหลือกับผู้ประสบอุทกภัย

ทั้งนี้ มีประชาชนนำข้าวสาร อาหารแห้ง น้ำดื่ม บะหมี่สำเร็จรูป มามอบบริจาค โดยเฉพาะนายอวิรุทธิ์ จันทร์อำนวยสุข จากห้างหุ้นส่วนจำกัดแสงเจริญนาประดู่ ได้นำข้าวสารจำนวน 5,000 กิโลกรัมมาบริจาค นอกจากนั้น นางสุนิสา รามแก้ว ตัวแทนสื่อมวลชนจังหวัดยะลา ได้นำน้ำดื่มบรรจุขวด และปลากระป๋อง มาร่วมบริจาคด้วย

ศูนย์รับบริจาคช่วยเหลือผู้ประสบภัยน้ำท่วมแห่งนี้ จะเปิดรับบริจาคทุกวัน และจะขนส่งสิ่งของที่ได้รับบริจาค นำไปให้ผู้ประสบอุทกภัยในพื้นที่ภาคกลาง โดยรถบรรทุกคันแรก เช้าวันพฤหัสที่ 13 ตุลาคม 2554

เทศบาลนครยะลา แจ้งว่า ขอรับเพียงข้าวสาร อาหารแห้งต่างๆ บะหมี่กึ่งสำเร็จรูป ยาและเวชภัณฑ์ต่างๆ รวมทั้งผ้าอนามัย ซึ่งประชาชนสามารถเดินทางมาบริจาคได้ตลอด 24 ชั่วโมง

สมัครรับข่าวความเคลื่อนไหวจากประชาไท ผ่านทางอีเมล ดูรายละเอียดที่ http://groups.google.com/group/prachatai-newspaper

รายงาน: วันที่อยู่อาศัยโลก’ 54 ภายใต้ ‘เครือข่ายสิทธิคนจนพัฒนาภูเก็ต’

Posted: 11 Oct 2011 09:55 AM PDT

บ่ายวันที่ 11 ตุลาคม 2554 ขบวนแรลลี่วันที่อยู่อาศัยโลกภาคใต้ 2554 จะเดินทางมาถึงโรงเรียนเทศบาลบ้านท้ายช้าง อำเภอเมือง จังหวัดพังงา

ย่ำค่ำวันเดียวกัน เวลาประมาณ 19.30 น. ก็จะเดินทางถึงชุมชนท่าเรือใหม่รัษฎา ตำบลรัษฎา อำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต ซึ่งเป็นจุดสุดท้ายของการจัดงานวันที่อยู่อาศัยโลกของภาคใต้ ในปี 2554

สำหรับการจัดที่ชุมชนท่าเรือใหม่รัษฎา ตำบลรัษฎา อำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต

กำหนดการสำคัญของการจัดงานวันที่อยู่อาศัยโลกภาคใต้ ณ จังหวัดภูเก็ต อยู่ตรงวันที่ 12 ตุลาคม 2554 ซึ่งจะมีการยื่นข้อเสนอของเครือข่ายสิทธิคนจนพัฒนาภูเก็ต ต่อนายตรี อัครเดชา ผู้ว่าราชการจังหวัดภูเก็ต

เนื้อหาของข้อเสนอ และประเด็นพูดคุยในงานวันที่อยู่อาศัยโลกจังหวัดภูเก็ต 2543 พุ่งเป้าความสำคัญไปยังประเด็น “ที่อยู่อาศัย สวัสดิการชุมชน ธนาคารเครือข่าย” เนื่องเพราะจังหวัดภูเก็ตเป็นพื้นที่เศรษฐกิจการท่องเที่ยว มีหลายชุมชนประสบปัญหาเรื่องที่อยู่อาศัยและที่ทำกิน อันเนื่องมาจากชุมชนต่างๆ ล้วนแล้วแต่อยู่บนที่ดินของรัฐ หรือไม่ก็เป็นของเอกชน

กระทั่ง “เครือข่ายสิทธิคนจนพัฒนาภูเก็ต” ได้นำประเด็นเหล่านี้มาเคลื่อนไหวเพื่อแก้ปัญหา มีการทำงานกันเป็นเครือข่ายมีทั้งกลุ่มชาติพันธุ์ชาวเล และคนจนเมืองที่กระจุกตัวอยู่ตามชุมชนแคบๆ

เรื่องราวเหล่านี้ จึงถูกนำมาขึ้นโต๊ะเจรจากับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และภาครัฐ จนได้รับการผ่อนผัน และได้รับสิทธิ์ก่อสร้างบ้าน โดยมีสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (พอช.) เข้ามามีส่วนร่วมแก้ปัญหา ด้วยการสนับสนุนงบประมาณผ่านโครงการบ้านมั่นคง

หลังจากเกิดเหตุการณ์สึนามิ เมื่อวันที่ 27 ธันวาคม 2547 มูลนิธิชุมชนไทได้เข้ามาสำรวจชุมชนที่ประสบภัย และประสบปัญหาที่อยู่อาศัยและที่ทำกิน

กระทั่งเกิดการรวมตัวกันเป็นเครือข่ายสิทธิคนจนพัฒนาภูเก็ต มีทั้งหมด 30 ชุมชน ร่วมกันขับเคลื่อนประเด็นที่อยู่อาศัย ที่ทำกิน สวัสดิการชุมชน องค์กรการเงิน และชาติพันธุ์ชาวเล

ต่อมา ปัญหาที่อยู่อาศัยได้เข้าสู่การแก้ปัญหาภายใต้โครงการบ้านมั่นคง เริ่มจาก 5 ชุมชนแรก จนปี 2554 จึงเพิ่มเป็น 13 ชุมชน และกำลังดำเนินการของบประมาณบ้านมั่นคงเพิ่มอีก 6 ชุมชน เบื้องต้นทุกชุมชนจะต้องจัดตั้งกลุ่มออมทรัพย์ ด้วยความร่วมมือของคนในชุมชน มีการวางข้อตกลง มีคณะกรรมการของแต่ละชุมชนบริหารการจัดการ

“เราต้องการแก้ไขปัญหาที่ดินในเชิงนโยบายด้วยโฉนดชุมชน ทางเครือข่ายสิทธิคนจนพัฒนาภูเก็ต เสนอพื้นที่ออกโฉนดชุมชนทั้งหมด 17 ชุมชน ทั้งหมดผ่านการพิจารณาความพร้อม จากคณะกรรมการประสานงานเพื่อจัดให้มีโฉนดชุมชนแล้ว 7 ชุมชน ประกอบด้วย ชุมชนคลองเกาะผี ท่าเรือใหม่รัษฎา สะปำ ท่าสัก อ่าวยนต์ แหลมหลา และปากบาง” เป็นข้อมูลจากนางสาวฒุฒิพร ทิพย์วงศ์ ผู้ประสานงานเครือข่ายสิทธิคนจนพัฒนาภูเก็ต

ในส่วนชุมชนที่ยังไม่ผ่านการพิจารณา นางสาวฒุฒิพร ทิพย์วงศ์ บอกว่า ต้องกลับไปทำข้อมูลและเตรียมความพร้อมเพิ่มเติม โดยเฉพาะชุมชนที่มีพื้นที่กว้างขวางอย่างชุมชนกิ่งแก้ว ต้องเตรียมการอย่างละเอียดและรอบคอบ เพราะมีทั้งผู้ประสบความเดือดร้อนจริง และผู้ประสบความเดือดร้อนแฝง ต้องให้ชาวบ้านในชุมชน ร่วมกับองค์การส่วนท้องถิ่น และภาครัฐที่เกี่ยวข้อง ช่วยกันคัดกรองป้องกันความขัดแย้งในชุมชน

นายเสกสรรค์ สุพนึก ผู้จัดการธนาคารเครือข่ายสิทธิคนจนพัฒนาภูเก็ต บอกว่า ธนาคารผู้จัดการธนาคารเครือข่ายสิทธิคนจนพัฒนาภูเก็ต เกิดจากกลุ่มออมทรัพย์ของแต่ละชุมชน ร่วมกันระดมทุน ตอนนี้มีทั้งหมด 10 ชุมชน มีเงิน 720,000 บาท เริ่มปล่อยกู้เป็นสวัสดิการให้กับชุมชนวงเงิน 4 แสนกว่าบาท เมื่อ 6 เดือนที่ผ่านมา ส่วนใหญ่กู้ไปปลดหนี้นอกระบบ เป็นทุนการศึกษา ซ่อมแซมที่อยู่อาศัย และประกอบอาชีพ โดยคิดดอกเบี้ยร้อยละ 2 ต่อเดือน

คนที่จะกู้จะมีคณะกรรมการของชุมชนคัดกรองว่า สามารถให้กู้ได้หรือไม่ โดยพิจารณาตามความเหมาะสม เน้นการช่วยเหลือผู้ที่เดือดร้อนจริงๆ

“เรานำรายได้ไปจัดสวัสดิการและปันผลให้กับชุมชน 50% ส่วนอีก 50% เป็นกองทุนขับเคลื่อนเครือข่ายสิทธิคนจนพัฒนาภูเก็ต ที่ผ่านมาเวลาไปประชุมที่กรุงเทพมหานคร หรือต่างจังหวัด ต้องใช้วิธีการเรี่ยไรเงินจากชาวบ้าน นานเข้าชาวบ้านก็ระอา รายได้จากตรงนี้ จึงนำไปแก้ปัญหานี้ด้วย”

เป็นคำบอกเล่าจาก นายเสกสรรค์ สุพนึก ก่อนจะถึงวันจัดงานวันที่อยู่อาศัยโลกภาคใต้ 2554 เกือบหนึ่งสัปดาห์

ฒุฒิพร ทิพย์วงศ์
ฒุฒิพร ทิพย์วงศ์

 

ข้อเสนอต่อผู้ว่าราชการจังหวัด
จากเครือข่ายสิทธิคนจนพัฒนาภูเก็ต

  1. ชุมชนในเครือข่ายฯ ขอรับการพัฒนาและ/หรืออนุญาตให้ชุมชนสามารถพัฒนาระบบสาธารณูปโภคในพื้นที่ โดยเฉพาะน้ำประปา ไฟฟ้า ถนน คูระบายน้ำ เป็นการบรรเทาความเดือดร้อนโดยเร่งด่วนโดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (เทศบาล, องค์การบริหารส่วนตำบล, องค์การบริหารส่วนจังหวัด) หรืออำเภอและจังหวัดได้
  2. ขอให้หน่วยงานรัฐยุติการดำเนินคดีกับชาวชุมชน ในการแก้ปัญหาของแต่ละชุมชนให้มีการเปิดเจรจาโดยมีตัวแทนของเครือข่ายฯ เข้าร่วมการแก้ไขปัญหาทุกครั้ง โดยเฉพาะปัญหาที่ดินและการใช้พระราชบัญญัติควบคุมอาคารพ.ศ.2522 เป็นเครื่องมือในการไล่รื้อชุมชน
  3. ให้ยุติการไล่รื้อชุมชนในทันที
  4. ชุมชนที่อยู่ระหว่างดำเนินคดีให้สามารถพัฒนาชุมชนได้ เพื่อเป็นการบรรเทาความเดือดร้อนเบื้องต้น และให้ดำเนินการตามมติที่มีการพิสูจน์สิทธิที่ดินแล้วโดยหน่วยงานของรัฐบาลและคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน
  5. ให้ทางจังหวัดใช้มาตรการ/การคุ้มครองและช่วยเหลือเป็นกรณีพิเศษ สำหรับกลุ่มชาวเล (5 ชุมชนในจังหวัดภูเก็ต) ซึ่งเป็นกลุ่มชุมชนดั้งเดิมของเมือง และมีการพัฒนาและแก้ปัญหาตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 2 มิถุนายน 2553

 

สมัครรับข่าวความเคลื่อนไหวจากประชาไท ผ่านทางอีเมล ดูรายละเอียดที่ http://groups.google.com/group/prachatai-newspaper

บทเรียนการรับมือ จากบันทึกน้ำท่วมหาดใหญ่ ปี 2543 และ 2553

Posted: 11 Oct 2011 09:30 AM PDT

2543
การพึ่งตนเองและพึ่งพาอาศัยกันทางสาธารณสุข บทเรียนร่วมกันของอุทกภัย หาดใหญ่

             ภัยพิบัติครั้งร้ายแรงของหาดใหญ่ปลายเดือนพฤศจิกายน 2543 เกิดผลกระทบต่อชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนทั้งในทันทีและต่อเนื่อง หากไม่ได้ร่วมทุกข์ด้วยกันในภาวะพิบัติครั้งนี้ คงยากที่จะมีความรู้สึกร่วมกันถึงสิ่งที่เกิดขึ้น อุทกภัยครั้งนี้รุนแรงเป็น 2 เท่าของปี 2531 ย่านตลาดกิมหยงแหล่งซื้อหาของกินของใช้ที่นักท่องเที่ยวนิยมน้ำท่วม 2 – 3 เมตร น้ำท่วมครั้งนี้ยาวนาน 3 – 7 วัน ขาดไฟฟ้าขาดน้ำกินน้ำใช้และอาหาร ในพื้นที่ 20 กว่าตารางกิโลเมตร ประชากรเกือบ 200,000 คน คนจำนวนไม่น้อยบ้านชั้นเดียวของเขาถูกน้ำท่วมจมหายไปขาดทั้งที่อยู่อาศัยและทรัพย์สิน ชีวิตนับแสนคนต่างได้ร่วมทุกข์ร่วมกันแต่สิ่งสำคัญประการหนึ่งคือเราได้เรียนรู้ร่วมกันถึงภาวะที่ต้องพึ่งตนเองและพึ่งพาอาศัยกันเพื่อให้ผ่านพ้นวิกฤตในครั้งนี้และในอนาคต

1. เมื่อโรงพยาบาลศูนย์หาดใหญ่ถูกน้ำท่วม
             อำเภอหาดใหญ่ มีลักษณะพิเศษทางระบบบริการสาธารณสุขหลายประการจากจำนวนประชากรในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ประมาณ 150,000 คน นอกเขต 150,000 คน และผู้ไม่ได้ขึ้นทะเบียนรวมทั้งผู้เดินทางเข้าออกแต่ละวันอีกกว่า 200,000 คน อำเภอนี้ไม่มีโรงพยาบาลชุมชน โรงพยาบาลศูนย์หาดใหญ่เป็นทั้งโรงพยาบาลศูนย์และโรงพยาบาลประจำอำเภอ มีโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มีโรงพยาบาลเอกชนอีก 3 – 4 แห่ง มีโรงพยาบาลค่ายเสนาณรงค์ มีคลินิกเอกชนกว่า 100 แห่ง แต่ที่พิเศษคือมีศูนย์บริการสาธารณสุขเทศบาลนครหาดใหญ่ อีก 15 แห่ง ซึ่งนอกเวลาราชการมีแพทย์จากโรงพยาบาลหาดใหญ่ไปร่วมให้บริการ 5 แห่ง

             แต่เมื่อน้ำท่วมหาดใหญ่ โรงพยาบาลหาดใหญ่ซึ่งเมื่อปี 2531 พื้นที่ส่วนใหญ่ไม่ได้รับผลกระทบนอกจากคลังยาซึ่งอยู่ใต้ดิน ปีนี้น้ำท่วมโรงพยาบาลหาดใหญ่จนถึง OPD และ ER ซึ่งสูงกว่าระดับพื้นดินเกือบ 1.5 เมตร พร้อมกับน้ำท่วมโครงสร้างพื้นฐานของเมืองและตัวเมืองลงไปเกือบ 2 – 3 เมตร อาจจะเรียกได้ว่ามีเพียงโรงพยาบาลสงขลานครินทร์และโรงพยาบาลค่ายเสนาณรงค์เป็นเพียง 2 โรงพยาบาลกับสถานพยาบาลระดับคลินิกหรือศูนย์บริการสาธารณสุขอีกไม่กี่แห่งที่รอดพ้นจากน้ำท่วมครั้งนี้

            3 นาฬิกาหลังเที่ยงคืนวันที่ 21 พฤศจิกายน 2543 พยาบาลและเจ้าหน้าที่ที่พักในโรงพยาบาลถูกระดมกันมาขนยาจากคลังยาชั้นใต้ดิน เจ้าหน้าที่ชายช่วยกันขนกระสอบทรายไปปิดทางลงชั้นใต้ดินตึกอุบัติเหตุใหม่ซึ่งเป็นห้องควบคุมระบบไฟฟ้าของตึกใหม่

             6 นาฬิกา น้ำท่วมเลยขอบกั้นของชั้น 1 น้ำเข้าคลังยาใหญ่ แต่เราขนได้เกือบ 60 เปอร์เซ็นต์ มากระจัดกระจายอยู่ตึกอำนวยการชั้น 1

            7 นาฬิกา มีเสียงเรียกใครเป็นผู้ชายไปช่วยขนกระสอบทรายจากห้องควบคุมมากั้นน้ำที่โรงไฟฟ้าเก่าเพราะน้ำสูงเกินที่จะกันที่ตึกใหม่ได้แล้ว

             9 นาฬิกา หลังจากทุ่มเทปกป้องจุดวิกฤต น้ำเริ่มทรงตัว หาดใหญ่น้ำท่วมหมดแล้ว ผู้มีประสบการณ์น้ำท่วมปี 2531 บอกว่าน้ำท่วมเท่ากับปี 2531 แล้ว ไฟฟ้าของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคดับ น้ำประปาหยุดไหล โทรศัพท์ไม่สามารถใช้งานได้ ถัดจากนั้นอีกครึ่งชั่วโมง ระบบไฟฟ้าฉุกเฉินของโรงพยาบาลขัดข้อง

             10 นาฬิกา ความไม่แน่ใจว่าระบบไฟฟ้าจะแก้ไขได้หรือไม่ ICU เปลี่ยนเครื่องช่วยหายใจเป็น Bird คลังเลือดเตรียมขนย้ายเลือดไปโรงพยาบาลสงขลานครินทร์ คนไข้หนักที่ยังต้องใช้เครื่องช่วยหายใจที่ใช้ระบบไฟฟ้าเตรียมส่งโรงพยาบาลสงขลานครินทร์ การเดินทางถูกตัดขาด เรือไม่สามารถเข้าโรงพยาบาลได้เพราะน้ำเชี่ยว รถบรรทุกของทหารได้รับการติดต่อ ทีมทหารถูกส่งเข้ามา เราเปิดประตูทางด้านหลังซึ่งรถชนิดพิเศษซึ่งสูงจากพื้นดินเกือบ 1.5 เมตรเข้ามาได้

             11 นาฬิกาถึงเที่ยง เรี่ยวแรงที่ยังมีอยู่ของคนที่สามารถเข้ามาทำงานได้หรือตกค้างจากเมื่อคืน ถูกระดมกันเพื่อเลือกทางรอดที่ดีกว่าให้ผู้ป่วย การลำเลียงโดยทางรถจึงเริ่มขึ้นจนเสร็จสิ้น

            ระบบไฟฟ้าฉุกเฉินถูกซ่อมแซมและดูเหมือนว่าจะใช้ได้อีกครั้ง ระดับน้ำเริ่มทรงตัว เราหวังว่าน้ำจะลด คนขับรถเตรียมรถแลนด์รุ่นเก่าซึ่งเราเตรียมไว้ออกหน่วยช่วยผู้ประสบอุทกภัยออกมาเพื่อออกไปติดต่อหาน้ำมันมาใช้กับระบบไฟฟ้าสำรอง เพราะคาดว่าการไฟฟ้าคงหยุดจ่ายไฟต่อเนื่องอีก 1 – 2 วัน (ในความจริงไฟฟ้าถูกจ่ายอีก 5 วันถัดมา) เราหวังว่าน้ำจะลด แต่คงต้องเตรียมการไว้ก่อน รถพอจะวิ่งไปได้โดยยึดกลางถนน ระดับน้ำทรงตัวผู้คนเริ่มเดินไปมาหาสู่กันแต่เราพบว่าหาดใหญ่ได้จมลงใต้น้ำแล้ว ปั๊มน้ำมันต่าง ๆ ถูกน้ำท่วม รถน้ำมันซึ่งต้องมาส่งให้โรงพยาบาลติดอยู่นอกเมือง หน่วยงานต่าง ๆ แม้แต่ดับเพลิงหรือกู้ภัยจมอยู่ใต้น้ำ เรากลับโรงพยาบาลและหวังว่าน้ำจะลด เราคงต้องช่วยตัวเอง ตลอดทางแม้ว่าเป็นวันแรกหลายคนเริ่มพบกับความยากลำบากทั้งการหาอาหารและความเจ็บไข้ไม่สบายของเขา สถานพยาบาลที่ไม่ถูกน้ำท่วมก็ห่างไกลออกไป โรงพยาบาลหาดใหญ่ ซึ่งอยู่ใจกลางเมืองก็อยู่กลางน้ำเช่นกัน เรายังหวังว่าน้ำจะลดอย่างไรก็ตามเราเปิดประตูด้านหลังให้คนป่วยสามารถเดินทะลุมายังตัวโรงพยาบาลซึ่งยังคงเปิดห้องฉุกเฉินทำการตลอดเวลา ตั้งแต่เช้าเชือกถูกขึงด้านหน้าโรงพยาบาลไว้เพื่อให้คนไต่เข้ามา ชุดชูชีพที่กลุ่มงานเวชกรรมสังคมเตรียมไว้ในการออกหน่วยช่วยผู้ประสบอุทกภัยถูกนำมาให้เจ้าหน้าที่ที่คอยไปรับคนหน้าโรงพยาบาลเรายังหวังว่าจะเป็นส่วนหนึ่งของการบรรเทาทุกข์ให้คนหาดใหญ่

            ตั้งแต่เย็นวันที่ 22 พฤศจิกายน 2543 เราได้ประสบกับความรู้สึกร่วมกันการพึ่งตนเองและพึ่งพาอาศัยกันในหมู่ผู้ร่วมทุกข์กันในโรงพยาบาลทั้งผู้ป่วย ญาติและเจ้าหน้าที่ เมื่อเย็นนั้นน้ำเริ่มขึ้นอีกครั้ง โดยไม่มีทีท่าว่าจะหยุด ฝนกระหน่ำลงมาอย่างไม่สิ้นสุด ไฟดับทุกอย่างมืดมิด มีแต่แสงจากไฟฉายและเทียนไข ผู้คนที่เดินไปมาหากันไม่สามารถไปมาถึงกันอีก ตึกอำนวยการน้ำเริ่มเข้า ยาจากชั้น 1 ถูกระดมกันไปช่วยขนขึ้นไปชั้น 2 ในโรงพยาบาลอาหารเริ่มร่อยหรอเพื่อเลี้ยงผู้ป่วย ญาติและเจ้าหน้าที่

            วันพฤหัสที่ 23 พฤศจิกายน 2543 ระดับน้ำท่วมไม่มีวี่แววว่าจะหยุด ฝนยังคงกระหน่ำ เมืองเงียบสะงัด ทุกอย่างเหมือนกับจะหยุดนิ่งนอกจากสายน้ำ ผู้พักอาศัยในบ้านพักของโรงพยาบาลถูกประกาศให้ย้ายไปอยู่บนตึก รถยนต์จมนิ่งใต้สายน้ำ บ้านอาจไม่ปลอดภัยแม้ชั้น 2 สถานีวิทยุที่ออกอากาศได้เริ่มแจ้งข่าวการขอความช่วยเหลือ เรายังคงไม่มีไฟฟ้า น้ำประปา น้ำฝนพอเป็นที่พึ่ง ผู้ป่วยหนักเริ่มไม่ปลอดภัยในโรงพยาบาลใหญ่ เย็นวันที่ 23 ฟ้าเปิด หน่วยสื่อสารติดต่อกับเฮลิคอปเตอร์ของราชนาวีได้ การลำเลียงผู้ป่วยชุดใหญ่เพื่อส่งไปโรงพยาบาลสงขลานครินทร์จึงเริ่มขึ้น  โชคดีที่ตึกใหม่มีลานสำหรับเฮลิคอปเตอร์บนดาดฟ้าชั้น 10 โชคดีที่ทุกคนที่อยู่ในโรงพยาบาลร่วมแรงร่วมใจกัน เปล 1 เปลใช้คนประมาณ 10 คน ผลัดเปลี่ยนกันแบกหามไปทั้งเจ้าหน้าที่และญาติ กว่า10 เที่ยวที่เฮลิคอปเตอร์มารับผู้ป่วยหนักกว่า 60 คนจากโรงพยาบาลหาดใหญ่ไปโรงพยาบาลสงขลานครินทร์

            เมื่อเราขึ้นไปชั้นบนสุดของตึกเราได้เห็นโชคร้ายและวิบัติภัยของโรงพยาบาลหาดใหญ่ เราอยู่กลางเวิ้งน้ำสุดลูกหูลูกตา บ้านชั้นเดียวจมอยู่ใต้น้ำ บ้านชั้นเดียวที่ยังเหลืออยู่มีผู้คนขึ้นไปอยู่อาศัยบนหลังคา ท่ามกลางความหนาวเย็นของสายฝน เราได้ตระหนักว่าเรายังห่างไกลจากความทุกข์ของชะตากรรมของคนอีกมากมาย สายน้ำ ความเงียบ ความมืดของค่ำคืนของเรายังอยู่ท่ามกลางหมู่มิตรที่พึ่งพาอาศัยกันได้ แต่คนจำนวนไม่น้อยยังอยู่กับความเดียวดายและหิวโหย เราพลัดพรากจากพ่อแม่และมิตรสหาย แต่เรารู้ว่าเขาอยู่ในที่ปลอดภัย แต่หลายคนไม่สามารถจะรับรู้ได้ เราเริ่มขาดแคลนอาหารแต่หลายครอบครัวไม่มีอาหาร เย็นวันที่ 23 พฤศจิกายน 2543 เมื่อฟ้าโปร่งอยู่ชั่วขณะ เราได้ยินเสียงเฮลิคอปเตอร์บินไปมา แต่เมื่อมืดลงเราได้มีโอกาสแค่รับฟังการเรียกหาความช่วยเหลือผ่านทางสถานีวิทยุสงขลานครินทร์ และสถานีวิทยุแห่งประเทศไทย ซึ่งรับข้อมูลจากกลุ่มผู้ที่ยังมีโทรศัพท์มือถือติดต่อได้ แต่เราก็ตระหนักว่าจริง ๆ แล้วเราได้อยู่ในความมืดมิดและเงียบสะงัดที่ธรรมชาติได้พิชิตพวกเราลงอย่างราบคาบ เสียงขอความช่วยเหลือครั้งแล้วครั้งเล่า ซึ่งไม่สามารถได้รับการตอบสนอง เรายิ่งตระหนักว่ามีคนอีกมากทุกข์ยากมากกว่านี้หลายเท่าที่ไม่สามารถแม้แต่จะเอาชีวิตรอดจากสายน้ำ ที่หาทางรอดบนความเวิ้งว้างของกระแสน้ำรอบด้าน (เมื่อน้ำลด 1 เดือนถัดมาผู้เขียนได้ตระหนักถึงวุฒิภาวะของคนหาดใหญ่ที่ผ่านภัยพิบัติอย่างตระหนักต่อตนเองและการดำรงอยู่ของชีวิต) ความเงียบและมืดมิดของคืนวันที่ 23 สายฝนที่โปรยปรายเป็นระยะ ความคิดคำนึงของแต่ละคนคงล่องลอยไปตามความเชี่ยวกรากและมืดมนของกระแสน้ำที่ตนเองได้ประสบ

            เราต่างประสบภัยพิบัติครั้งนี้ในห้วงน้ำต่อเนื่องมาอีก 2 วัน หลายพื้นที่กินเวลาเกือบ 1 สัปดาห์ แต่วิบัติภัยต่อเนื่องจากความสูญเสียยังยาวนานกว่านั้น โรงพยาบาลเองคงต้องอาศัยเวลาฟื้นฟูเบื้องต้นไม่น้อยกว่า 1 เดือนและอีกยาวนานจากนั้น ประชาชนหรือแม้แต่พวกเราเจ้าหน้าที่สาธารณสุขที่ประสบภัยพิบัติทั้งชีวิตทรัพย์สินยังคงประเมินไม่ได้ว่าเราจะสามารถฟื้นฟูมันให้กลับสู่สภาพเดิมได้หรือไม่ หรือได้เมื่อใด แต่ที่สำคัญคงเป็นความทรงจำที่ดำรงอยู่ แม้ว่าหลายคนอาจจะเก็บมันไว้ลึก ๆ เพื่อไม่ให้มันแปรเป็นความเศร้าโศกจากความสูญเสียที่เกิดขึ้น

2. บทที่ต้องเรียน
            ในฐานะสถานบริการสาธารณสุข เราคงจะปกป้องผู้ป่วยที่อยู่ในโรงพยาบาลโดยการส่งต่อผู้ป่วยหนักและหนักมากไปโรงพยาบาลสงขลานครินทร์ ดูแลผู้ป่วยใน ญาติ เจ้าหน้าที่และผู้ป่วยฉุกเฉินที่ยังพอจะมาถึงเราได้ แต่หากเราตระหนักว่ายังมีคนทุกข์และยิ่งทุกข์หนักทั้งจากอุทกภัย ความขาดแคลนอาหาร ความเจ็บไข้ได้ป่วยที่ไม่อาจจะดูแลตนเองได้ ในฐานะที่เราเป็นบุคลากรทางสาธารณสุขความพยายามของเรา การลงทุนของรัฐ ในการสร้างสถานพยาบาลใหญ่โต เครื่องไม้เครื่องมือราคาแพง กลับไม่สามารถช่วยประชาชนที่เป็นเจ้าของภาษีอากรได้ เราตระหนักว่า แม้แต่การจะฝ่าข้ามสายน้ำเฉี่ยวกรากเพียง 50 เมตร เกือบเป็นไปไม่ได้ แต่วันนี้เมื่อเหตุการณ์ผ่านไป แม้ว่าเราหวังว่าในเหตุการณ์นั้นจะมีใครเป็นอัศวินม้าขาว มาจากจังหวัด มาจากกระทรวงสาธารณสุข หรือมาจากที่ใด ๆ แต่ด้วยเหตุผลเดียวกันคือในภาวะนั้นต่างก็ไม่มีใครสามารถเข้ามาได้ วันศุกร์ที่ 24 พฤศจิกายน 2543 เป็นวันแรก ที่ข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ คือท่านปลัดกระทรวงสาธารณสุขได้เข้ามาและมอบหมายนโยบาย พร้อมสั่งการต่อการสนับสนุนในส่วนของกระทรวงสาธารณสุขอย่างต่อเนื่อง อย่างไรก็ตามสิ่งที่เราตระหนักคือ ทำอย่างไร เราจะพึ่งตนเองและเป็นที่พึ่งพาอาศัยของกันและกันในหมู่ผู้ประสบภัยได้มากกว่านี้ เพราะเวลาเพียง

5นาที 1 ชั่วโมง 1 วัน ของผู้เจ็บป่วยของผู้ขาดแคลนอาหารหรือ เด็กซึ่งต้องอดนม และอยู่ในความหนาวเย็น อาจหมายถึงชีวิตของเขา

3. ไม่ใช่เพียงการป้องกัน
            การป้องกันไม่ให้น้ำท่วม คงเป็นวิธีการที่ดีที่สุดของการป้องกันอุทกภัยแต่เมื่อธรรมชาติได้ถูกเปลี่ยนแปลงไปและธรรมชาติได้สอนเราแล้วว่าวันหนึ่งธรรมชาติก็จะชนะเรา ความพยายามที่จะอยู่ร่วมกับธรรมชาติอย่างกลมกลืนซึ่งเป็นสิ่งที่เราอยู่ห่างเกินไป ทำให้ความพยายามที่หน่วยงานต่าง ๆ ที่ว่าจะป้องกันน้ำท่วมได้อาจยังเป็นความฝันสำหรับวันนี้

4. พึ่งตนเองและพึ่งพาอาศัยกัน
            การเตรียมการเพื่อรับภัยพิบัติที่ยังคงจะเกิดขึ้นจึงเป็นสิ่งที่สำคัญในการที่จะป้องกันเราจากทุกข์ของภัยพิบัติ
            อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัย และยารักษาโรค ยังคงเป็นปัจจัย 4 ที่เราจำต้องหวนกลับมาตระหนักถึงความถึงความจำเป็น รถยนต์ ไฟฟ้า โทรศัพท์มือถือ และสิ่งอำนวยความสะดวกต่าง ๆ ได้กลายเป็นความว่างเปล่าในภาวะที่เราจมอยู่กับอุทกภัย วิถีชีวิตที่ซื้ออาหารตามร้านอาหาร , รถเข็น, และร้านฟาสต์ฟุดไปวัน ๆ ทำให้หลายคนหลายครอบครัวไม่มีอาหารอยู่ในบ้านหรือไม่สามารถจะปรุงอาหารได้แม้ว่าพอจะมีอาหารแห้งอยู่บ้าง การหุงหาอาหารเอง การมีการเก็บตุนอาหารไว้บ้างได้ช่วยหลายคนหลายครอบครัวให้มีอาหารเล็ก ๆ น้อย ๆ ประทังชีวิตกว่าจะได้รับการช่วยเหลือ หลายคนหลายครอบครัวได้รับการช่วยเหลือจากบ้านใกล้เรือนเคียงที่พอจะมีอาหารแบ่งปันกัน บ้าน 2-3 ชั้นในย่านที่มีบ้านชั้นเดียวได้รับคนจากบ้านรอบ ๆ มาอยู่ด้วย หลายบ้านรับมาอยู่เกือบ 60 คน บ้านที่มั่นคงแข็งแรงในย่านน้ำเชี่ยวเก็บ (ช่วย) คนที่ไหลมาตามน้ำเพื่อพักอาศัยหลายสิบคน หลาย ๆ คนเมื่อสูญเสียทุกสิ่งทุกอย่างไปได้พอพึ่งพิงอาศัยอาหารที่อยู่ เสื้อผ้า และยารักษาโรคจากบ้านใกล้เรือนเคียง หรือ บ้านที่ตนได้ไปพักพิง บทเรียนเหล่านี้ในฐานะของบุคลากรสาธารณสุขอันเป็นสิ่งที่จะต้องทำให้ประชาชนมีความสุขเราจะทำได้อย่างไร

         4.1 อาหาร
         โรงพยาบาลหาดใหญ่
            โดยปกติโรงพยาบาลเตรียมทั้งอาหารสดและอาหารแห้งไว้เพื่อให้บริการแก่ผู้ป่วยใน ช่วงหน้าฝน ฝ่ายโภชนาการจะเตรียมข้าวสาร อาหารแห้ง และก๊าซหุงต้มไว้มากกว่าปกติ น้ำท่วมครั้งนี้โรงพยาบาลยังสามารถมีอาหารไว้เลี้ยงดูทั้งผู้ป่วย ญาติ และเจ้าหน้าที่ แต่ปริมาณที่ต้องใช้เลี้ยงดูมากขึ้นหลายเท่าจากเฉพาะผู้ป่วยใน 400-500 คน/วัน เป็น กว่า 1,000 คน/วัน เมื่อย่างเข้าวันที่ 3 อาหารเริ่มร่อยหรอ แต่โชคดีว่าหน่วยงานต่าง ๆ รวมทั้งเฮลิคอปเตอร์ สามารถเข้ามาลงบนลานจอดได้ ทำให้โรงพยาบาลได้รับสนับสนุนอาหารอย่างเพียงพอ และสามารถแจกจ่ายได้ น้ำดื่ม น้ำใช้ของโรงพยาบาลก็มีอยู่ตามที่เก็บน้ำหลายจุด รวมทั้งมีน้ำฝนที่ตกมาต่อเนื่อง แต่น้ำใช้ก็จำเป็นต้องใช้น้ำท่วมที่ขังอยู่สำหรับการชำระล้างบางอย่าง

            การมีการตุนข้าวสารอาหารแห้ง และน้ำ การเตรียมการเรื่องการอุปกรณ์ประกอบอาหารเป็นสิ่งจำเป็น เมื่อน้ำท่วมตัวโรงพยาบาล ยุทธศาสตร์สำคัญอันหนึ่งในการปกป้องโรงพยาบาลคือการปกป้องโรงครัว แม้ว่าจะไม่มีแม่ครัวตัวจริงเพียงพอ เรายังพอจะระดมเจ้าหน้าที่ และญาติไปร่วมกันทำครัวได้ อาหารหลักที่เป็นที่รู้กันของโรงพยาบาลคือข้าวต้ม เพื่อจะให้เราสามารถยืดเวลาในการมีเสบียงอาหารนานพอก่อนที่จะมีใครเข้ามาช่วย

            ชุมชน
            ด้วยเหตุที่เราเริ่มมีครอบครัวเล็กที่ไม่ได้หุงหาอาหารเอง มีนักเรียน – นักศึกษา คนวัยแรงงานที่อาศัยในบ้านเช่า แฟลต อพาร์ตเม้นต์ ซึ่งไม่หุงหาอาหารเอง แต่ซื้อหาอาหารกินไปเป็นมื้อ ๆ ข้อเสนอก็คือ

             1. ครอบครัว ควรจะมีการหุงหาอาหารเอง แม้ว่าจะเป็นอาหารง่าย ๆ เช่น หุงข้าว ต้มแกงและไข่เจียว นอกจากจะทำให้เราประหยัดมีอาหารที่ดีมีคุณค่าในชีวิตประจำวัน การดำรงชีวิตแบบครอบครัวจะสมบูรณ์ขึ้น การพึ่งพาแต่ร้าน 7 –11 และรถเข็นจะลดลง เราควรมีเสบียงอยู่บ้างเราอาจจะซื้อหาอาหารสำเร็จทานด้วย แต่ที่สำคัญเราจะพึ่งตนเองได้แม้แต่ยามปกติหรือยามวิกฤต

              2. คนที่อยู่ตัวคนเดียว การปรุงอาหารอาจจะเป็นเรื่องดูเหมือนยุ่งยากแต่จริง ๆ แล้วไม่ การปรุงอาหารเป็นวิถีชีวิตที่สำคัญ เราอาจจะต้องเริ่มสอนวิชาการปรุงอาหารสำหรับคนตัวคนเดียวที่ง่ายและไม่ซับซ้อน ถ้าเคยดูหนังเกี่ยวกับการเดินป่าจะเห็นว่าแม้แต่เขาอยู่ในป่ามีหม้ออลูมิเนียมหนึ่งใบก็ยังสามารถหุงข้าว ต้มแกง ชงกาแฟได้ ความสุขจากการปรุงอาหารกินเองมีอยู่ตลอดมาและเมื่อน้ำท่วมอาหารแสนอร่อยเกิดจากน้ำมือของเราเอง อย่างไรก็ตามคงเป็นเรื่องยุ่งยากลำบากของหลายคน การมีเสบียงที่เป็นอาหารสำเร็จพร้อมกินข้าวกระป๋อง อาหารกระป๋อง น้ำ นม ฯลฯ อยู่บ้างเล็ก ๆ น้อย ๆ ในห้องและเราหมุนเวียนรับประทานแล้วหามาใหม่ นอกจากจะทำให้เราไม่ต้องพึ่งพาร้านค้าตลอดเวลา 24 ชั่วโมง เราก็จะสามารถบริหารตนเองทั้งในยามปกติและเมื่อมีเหตุจำเป็น

             4.2 เครื่องนุ่งห่ม
             เราต้องเก็บรักษาเสื้อผ้าไว้ไม่ให้เปียกน้ำหมด แม้ว่าคงเป็นไปไม่ได้ที่จะไม่ต้องลงไปในน้ำหรือเปียกน้ำ แต่เสื้อผ้า 2 – 3 ชุด ผ้าขนหนูหรือผ้าห่มสักพืนจำเป็นที่จะต้องมีถุงพลาสติกที่กันน้ำเก็บรักษาไว้ ผู้เขียนจำเป็นต้องลุยน้ำและอยู่ในน้ำทุกวันติดต่อกัน 5 วัน แม้ว่าน้ำจะลดแล้ว ชุดที่ต้องใช้มี 2 ชุดหลักคือ ชุดเปียกและชุดแห้ง แม้ว่าจะต้องเปลี่ยนที่พัก ชุดแห้งประจำตัวก็ถูกใส่ถุงดำสำหรับใส่ขยะมัดปิดสนิทติดตัวไปด้วย ผู้ปกครองซึ่งมีลูกเล็ก ควรเก็บเสื้อผ้า ผ้าห่ม ผ้าเช็ดตัวให้เด็กไว้ในถุงพลาสติก เตรียมพร้อมไว้ในภาวะน้ำท่วม หากเมื่อเราต้องโยกย้ายหรือบ้านที่อยู่อาศัยถูกน้ำท่วมจะได้มีเสื้อผ้าแห้งให้เด็ก ๆ ได้เปลี่ยน หากจำเป็นต้องลงน้ำเราสามารถพลัดเปลี่ยนเสื้อผ้าเปียกมาใช้อีกได้

ชูชีพอาจจะไม่ใช่อุปกรณ์ปกติที่เป็นเครื่องนุ่งห่ม แต่กลุ่มงานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลหาดใหญ่มีชูชีพ 6 ตัว เพื่อใช้เวลาไปออกหน่วยช่วยผู้ประสบอุทกภัย แต่ครั้งนี้เราไม่ได้ออกไปที่ไหนไกล ชุดชูชีพถูกใช้เพื่อข้ามจากประตูโรงพยาบาลไปขึงเชือกฟากตรงข้ามโรงพยาบาล เพื่อรับคนไข้เข้ามาในโรงพยาบาล ได้ให้แพทย์ พยาบาลและเจ้าหน้าที่ที่คอยช่วยคนไข้อยู่ในน้ำได้รู้สึกปลอดภัยขึ้น เราประเมินว่าเราคงต้องมีชูชีพมากกว่านี้ แต่สำหรับประชาชนทั่วไปการมีขวด แกลลอนที่ปิดสนิท การมีกล่องโฟม แท่งโฟม ห่วงยาง ก็สามารถดัดแปลงเพื่อการผูกติดตัวไปหากต้องลงไปในน้ำ

พวกเราที่อยู่ในสถานีอนามัย อยู่ในโรงพยาบาลชุมชนและหน่วยงานที่ต้องช่วยเหลือผู้อื่น ต้องเตรียมทั้งอุปกรณ์ช่วยชีวิต ชูชีพ เสื้อผ้าแห้งและถุงกันน้ำ เพื่อจะได้ใช้อย่างทันที ทั้งช่วยผู้อื่นและป้องกันตนเอง

              4.3 ที่อยู่อาศัย
              เมื่อครั้งที่สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติสร้างขึ้น หลาย ๆ คนมองถึงความไม่เหมาะสมของแบบที่ผู้ป่วยจะต้องขึ้นไปบนชั้น 2 ของอาคารใต้ถุนโล่ง น้ำท่วมครั้งนี้ทำให้เราพบว่า บ้านใต้ถุนโล่งคือภูมิปัญญาของคนไทยในเขตมรสุมที่มีน้ำท่วมหรือน้ำหลาก บ้านใต้ถุนโล่งคือการอยู่ร่วมที่กลมกลืนกับธรรมชาติ เรามีบ้าน 2 ชั้น 3 ชั้น โดยในชั้นหนึ่งเต็มไปด้วยข้าวของเครื่องใช้และในที่สุดธรรมชาติได้เลือกแบบบ้านที่เหมาะสมให้เราอีกครั้ง หลายคนอยากมีบ้านชั้นเดียว สร้างบ้านชั้นเดียวและวันหนึ่งเราได้อาศัยหลังคาของบ้านเป็นที่อยู่อาศัย

โรงพยาบาลหาดใหญ่มีตึกหลายชั้น มีลานเฮลิคอปเตอร์ซึ่งได้ช่วยเหลือทั้งการขนย้ายผู้ป่วยและส่งข้าวปลาอาหาร แต่โรงพยาบาลหาดใหญ่มีห้องใต้ดินไว้เป็นคลังยา มีลานจอดรถใต้ดินที่มีห้องควบคุมไฟฟ้าของอาคารใหม่ แล้วทั้งหมดจมลงใต้น้ำ

บ้านชั้นเดียวควรเป็นบ้านใต้ถุนสูง บ้าน 2 ชั้นไม่ควรมีเฟอร์นิเจอร์ที่มากเกินไปควรเป็นเฟอร์นิเจอร์ที่ทนน้ำและหรือโยกย้ายได้ง่าย

ควรมีอุปกรณ์พื้นฐาน เช่น เชือก ค้อน ตะปู ไม่ขีด ไฟฉาย เทียนไข ภาชนะใส่น้ำ ภาชนะหุงต้ม ฯลฯ ซึ่งในปัจจุบันหลายบ้านกลับไม่มีสิ่งเหล่านี้ให้พอหยิบใช้ได้ในยามวิกฤต

โรงพยาบาลหาดใหญ่และสถานพยาบาล ควรจะมี ชั้น 2 หรือกรณีสถานีอนามัยควรจะมีใต้ถุนสูง แต่หากจำเป็นที่อยู่ในเรือนชั้นเดียวควรมีตู้ลอยไว้เก็บของใช้ฉุกเฉิน ยาและวัสดุการแพทย์ฉุกเฉินและจำเป็นที่จะต้องเคลื่อนย้ายของใช้ฉุกเฉินไปยังที่ปลอดภัยก่อนที่น้ำจะท่วมถึง เพราะความเป็นบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขอาจจะไม่สามารถทำอะไรได้เลยหากเราเองก็เหลือแต่มือเปล่า 

             4.3 ยารักษาโรค
             เมื่อเกิดอุทกภัย ปัญหาสำคัญในการแสวงหาบริการสุขภาพคือการไม่สามารถเข้าถึงบริการสุขภาพได้ แนวคิดเรื่องการมียาสามัญประจำบ้าน การมีศูนย์สาธารณสุขมูลฐานชุมชน การมีศูนย์บริการสาธารณสุขหรือสถานีอนามัยนับเป็นความเหมาะสมที่จะเอื้ออำนวยให้การเข้าถึงบริการสุขภาพหรือยารักษาโรคเป็นไปได้ง่ายที่สุด โรงพยาบาลนับเป็นสิ่งที่ห่างไกลเมื่อระยะทางเพียง 1 – 2 กิโลเมตร เราอาจจะต้องใช้เวลา 3 – 4 ชั่วโมงเพื่อไปให้ถึง สำหรับคนที่ไม่ได้เจ็บป่วย

หลังอุทกภัยครั้งนี้ การใช้ศูนย์บริการสาธารณสุขประมาณ 8-10 แห่ง ร่วมกับหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ ทั้งในบริการรอบพื้นที่ศูนย์บริการสาธารณสุขและในจุดที่เข้าถึงได้ยาก เป็นกลยุทธ์ที่สามารถบรรเทาความทุกข์ยากของประชาชนในภาวะที่ระบบบริการต่าง ๆ ยังไม่สามารถดำเนินการได้สมบูรณ์ทั้งโรงพยาบาล และการคมนาคม ภาระของประชาชนในการต้องดูแลบ้านเรือนและทรัพย์สินของตน

อย่างไรก็ตาม ศูนย์บริการสาธารณสุขเกือบทุกแห่งล้วนถูกน้ำท่วมสูง 1 – 3 เมตร การเริ่มเปิดดำเนินการตั้งแต่น้ำลด ได้รับความช่วยเหลือจากชุมชนในการให้ใช้พื้นที่ที่ล้างทำความสะอาดแล้ว ได้รับความช่วยเหลือจากทีมหน่วยแพทย์ พยาบาลจากโรงพยาบาลต่าง ๆ ที่กระทรวงสาธารณสุขสนับสนุน นับเป็นการได้พึ่งพาอาศัยกันครั้งสำคัญและผู้เขียนซาบซึ้งต่อน้ำใจของทุกคนที่ร่วมแรงร่วมใจในการดำเนินการ

ในอีกด้านหนึ่ง ในภาวะน้ำท่วมเมื่อระบบต่าง ๆ จมอยู่ใต้น้ำ บทเรียนครั้งนี้ทำให้เราต้องย้อนกลับมาถึงเรื่องของการพึ่งตนเองให้มากขึ้น

             บุคคลหรือครอบครัว
             น่าจะมีการเก็บยาสามัญประจำบ้านหรือยาประจำโรคของตนเอาไว้ในบ้านหรือประจำตัว เพื่อเวลาจำเป็นหรือมีวิกฤตจะได้หยิบฉวยมาใช้ได้ ในภาวะอุทกภัยควรใส่ไว้ในภาชนะพลาสติกที่ปิดสนิทหรือในถุงพลาสติกที่ผูกมัดให้แน่นไม่ให้น้ำเข้าถ้าตกหล่นลงในน้ำหรือเก็บไว้ในที่สูงพ้นจากน้ำท่วมและสามารถหยิบฉวยได้ง่าย ในภาวะอุทกภัยการมีภาชนะพลาสติกที่ปิดได้สนิท เช่น ขวดหรือแกลลอนใช้เป็นชูชีพได้ หากต้องลงไปในน้ำหรือต้องเดินทางผ่านบริเวณที่น้ำท่วมสูงหรือน้ำเชี่ยว หากมีโฟมหรือเสื้อชูชีพอาจจะได้ใช้ประโยชน์เป็นอย่างมาก

             ชุมชน
             ศูนย์บริการสาธารณสุขหรือสถานีอนามัยและศูนย์บริการสาธารณสุขมูลฐานจำเป็นที่จะต้องตระหนักถึงภาระกิจการให้การรักษาพยาบาลเบื้องต้นมากขึ้น ทีมงานต้องรู้และมีทักษะการดูแลรักษาโรคเบื้องต้น บาดแผล การคลอด การลำเลียงผู้ป่วย ฯลฯ ยาและเวชภัณฑ์ฉุกเฉินต้องเตรียมไว้และอาจจะสำรองไว้ในที่ปลอดภัย หากน้ำท่วมสถานบริการหมดดังที่เกิดขึ้น เราต้องย้อนกลับมาคิดกับชุมชนว่าเราจะต้องเตรียมอะไรที่มากกว่าอดีต เราต้องเตรียมอาสาสมัคร เครื่องไม้เครื่องมือที่ช่วยชีวิต เครื่องมือลำเลียง เชือก ชูชีพ หรือถ้าชุมชนพร้อมเราอาจจะมีหน่วยกู้ภัยในชุมชน ทั้งการมีรถกู้ภัย เรือกู้ภัยที่เตรียมไว้ใช้ทั้งในยามปกติและฉุกเฉิน ชุมชนริมคลอง ริมแม่น้ำหรือริมทะเล เป็นจุดสำคัญที่เราน่าจะพัฒนาหน่วยกู้ภัยของแต่ละชุมชน เพราะจะสามารถปฏิบัติการได้ทั้งในยามปกติและช่วยเหลือซึ่งกันและกันได้ การช่วยเหลือกันของอาสาสมัครเอกชนหรือองค์กรท้องถิ่นต่างๆ ในภาวะอุทกภัยที่ผ่านมาเป็นเครื่องยืนยันความช่วยเหลือซึ่งใกล้ชิดและทันการณ์แม้ว่าจะมีศักยภาพด้อยกว่าหน่วยกู้ภัยของทหาร แต่ก็ทำให้เห็นว่าหน่วยเล็ก ๆ หากอยู่ในชุมชนเองรู้พื้นที่เล็ก ๆ อาจจะทำให้การช่วยเหลือกันในหมู่บ้านหรือชุมชน 100 – 200 ครัวเรือนได้รับการช่วยเหลือทันทีและทันท่วงที

             องค์กรทางสาธารณสุข
             ในภาวะปกติเรามีหน่วย EMS (Emergency Medical Service) และหน่วยเคลื่อนที่ต่าง ๆ ที่ออกไปให้บริการนอกโรงพยาบาลหรือสถานพยาบาล บทบาทหลักของเรามักเป็นการตั้งรับ เมื่อน้ำท่วมทุกสิ่งทุกอย่างหยุดนิ่ง เพราะหน่วยที่มีอยู่ไม่ได้มีความพร้อมที่จะรับวิบัติภัยขนาดนี้ การพยายามตั้งมั่นในสถานที่ตั้งให้ได้และจัดบริการให้ได้เป็นิสิ่งสำคัญที่สุดที่เราพยายามทำ แต่บทบาทที่เราควรจะเป็นที่พึ่งของชุมชนทางด้านสาธารณสุขก็กลายเป็นเรื่องไกลเกินไป เราคงต้องเริ่มต้นใหม่ในการจำแนกบทบาทและภาะกิจของแต่ละระดับของหน่วยบริการ คงจะไม่ไกลเกินไปที่จะคาดหวังว่าระดับอำเภอและส่วนกลางมีศักยภาพสูงกว่าระดับตำบล ระดับจังหวัดมีศักยภาพสูงกว่าระดับอำเภอและส่วนกลางมีศักยภาพสูงกว่าส่วนภูมิภาคและท้องถิ่น คงไม่ใช่เป็นการเหนือกว่าทางสายบังคับบัญชา แต่คงจำเป็นที่จะต้องเหนือกว่าในการปฏิบัติภาระกิจ มีเรือ มีเฮลิคอปเตอร์ มีทีมที่มีศักยภาพมีเทคโนโลยีที่เข้ามาสนับสนุนตั้งแต่ประชาชนอยู่ในภาวะวิกฤต

เพื่อพัฒนาการพึ่งตนเอง หน่วยบริการระดับท้องถิ่นจะต้องพัฒนาศักยภาพทางด้านการดูแลผู้ป่วยฉุกเฉินและการส่งต่อที่แท้จริงไม่ใช่เพียงอยู่ในกระดาษ ทั้งในภาวะวิกฤตและภาวะปกติ โรงพยาบาลอำเภอ โรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลจังหวัด คงต้องพัฒนาทีมที่มีศักยภาพพิเศษทั้งในภาวะปกติและวิกฤต รวมทั้งเครื่องไม้เครื่องมือหรืออุปกรณ์ที่สามารถช่วยเหลือสนับสนุนหน่วยบริการท้องถิ่นและปฏิบัติการได้เอง การดำรงอยู่ของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดและกระทรวงสาธารณสุข คงไม่ใช่เป็นเพียงหน่วยงานธุรการขนาดใหญ่เพราะองค์กรเหล่านี้ประกอบด้วยบุคลากรทางสาธารณสุข ศักยภาพที่เหนือกว่าในการสนับสนุนและการปฏิบัติการช่วยเหลือองค์กรระดับล่างที่ประสบพิบัติภัยจำเป็นที่จะต้องพัฒนาขึ้น การบริหารจัดการและการปฏิบัติการช่วยเหลือประชาชนในยามวิกฤตในขณะที่หน่วยงานระดับล่างแม้แต่ระดับโรงพยาบาลศูนย์ประสบภัยเป็นสิ่งที่จำเป็นที่จะต้องพัฒนาขึ้นเพื่อจะเป็นที่พึ่งของประชาชนและเป็นที่พึ่งพาได้ของหน่วยงานระดับล่าง หากสิ่งเหล่านี้ไม่เกิดขึ้นเราคงจะต้องตระหนักในภาระกิจของเราในการพึ่งตนเองและพึ่งพาอาศัยกันในระดับหน่วยปฏิบัติการให้มากยิ่งขึ้น

5. บทส่งท้าย
พิบัติภัยจากอุทกภัยครั้งนี้ ยังคงเป็นบทที่เราต้องเรียน พระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวถึงอุทกภัยในหาดใหญ่และบทพระราชนิพนธ์พระมหาชนก ยิ่งทำให้เราตระหนักถึงการพัฒนาเพื่ออยู่ร่วมกับธรรมชาติ การพึ่งตนเองและความเพียรจะเป็นหนทางที่จะนำเราหลุดพ้นจากความทุกข์ที่เกิดขึ้น

                                                                                                        พฤศจิกายน 2543

 

2553
น้ำท่วมหาดใหญ่ 2553 ดัดแปลงตนเองเพื่ออยู่ร่วมกับธรรมชาติ

น้ำท่วมใหญ่ในภาคอีสาน เป็นสัญญาณเตือนใหม่ถึงความเปลี่ยนแปลง ตอนแรกผมเข้าใจว่าเป็นความเปลี่ยนแปลงของธรรมชาติ แต่เมื่อต้องนั่งเฝ้าดูและฟังเสียงสายน้ำ สูงกว่าสองเมตรไหลผ่านชั้นหนึ่งของบ้านพัก กลับได้สำนึกถึงการเปลี่ยนแปลงของธรรมชาติ ว่าแท้จริง เราหรือมนุษย์นั่นเองที่พยายามไปดัดแปลงธรรมชาติ แต่ธรรมชาติได้พยายามส่งสัญญาณการคงอยู่ของวิถีแห่งธรรมชาติมาอย่างต่อเนื่องยาวนาน การพยายามดัดแปลงธรรมชาติของมนุษย์ ยิ่งเป็นการต่อสู้ที่ไม่อาจจะชนะ ธรรมชาติจะพยายามดำรงความเป็นธรรมชาติไว้อย่างนิรันดร หากไม่มีพระอาทิตย์ขึ้นตอนเช้า ลงตอนเย็น ไม่มีน้ำขึ้นและลง ไม่มีฤดูร้อน ฤดูฝน จะหมายความว่าธรรมชาติผ่ายแพ้ไปแล้วหรือ เราคงไม่อยากให้เกิดปรากฏการณ์นั้น

น้ำท่วมหาดใหญ่ปีนี้มาตั้งแต่ต้นฤดูฝน น้ำท่วมรุนแรงแบบนี้ไม่เคยมี แต่น้ำท่วมสูงขนาดนี้เมื่อผมยังเยาว์วัย เคยเกิดมาหลายครั้งแล้ว น้ำท่วมใหญ่และนานจนผมเคยถูกอพยพจากบ้านไปอยู่ที่อื่น หรือมีน้ำท่วมมากกว่าหนึ่งครั้งก็เคยมี คนหาดใหญ่เลือกมาอยู่ในชุมชนที่เป็นชุมทาง ที่แม้แต่น้ำก็ไหลมาบรรจบ ณ ที่นี้ ชุมชนนี้จึงเรียกตนเองว่าเป็นหาดใหญ่ มาแต่เก่าก่อน คนหาดใหญ่ยังจะอยู่ในชุมชนนี้ต่อไป เพราะการอยู่ที่นี่ เป็นที่ที่คนทั้งหลายจะมาบรรจบกัน มาอยู่อาศัย มาซื้อขาย มาศึกษาหาความรู้ เป็นชุมทางหาดใหญ่ ในเกือบทุกมิติ และเป็นชุมทางของสายน้ำหลายสาย

แต่น้ำท่วมปีนี้กลับเร็วและรุนแรงกว่าเดิม บ้านเมื่อวัยเด็กของผมอยู่ต่ำกว่าถนน 1 เมตร หลายสิบปีผ่านมาบ้านที่ผมอยู่อาศัยสูงกว่าเดิมเมตรครึ่ง แต่กลับต่ำกว่าถนนเกือบหนึ่งฟุต เมืองทั้งเมืองถูกถมสูงขึ้น มีเพียงบางพื้นที่ยังอยู่ต่ำลงไปใต้การขยับตัวขึ้นของเมือง เมื่อหลังปี 2543 ผมทบทวนความรู้ยังแปลกใจที่ตำราเขียนว่า เมืองคือสาเหตุที่ทำให้น้ำท่วมสูง 2-6 เท่า น้ำท่วมครั้งนี้จึงทำให้ผมเข้าใจถึงความจริงดังกล่าว ด้วยปรากฏการณ์ธรรมชาติที่เป็นคำเฉลย เราดัดแปลงเมือง ดัดแปลงทางน้ำ แต่เราไม่เรียนรู้ที่จะดัดแปลงตนเอง

น้ำ ได้เดินทางมาในวิถีแห่งธรรมชาติ จากที่สูงลงสู่ที่ตำ จากแม่น้ำลำคลอง ไหลลงสู่มหานที และไหลผ่านเมืองหาดใหญ่ไปสู่ทะเลสาบสงขลา ไม่ว่าเราจะเปลี่ยนแปลงเมืองอย่างไร น้ำก็จะหาหนทางที่จะไหลไปยังทิศทางที่จะต้องไป ไม่ว่าจะไหลผ่านบ้านเรือนร้านค้า ถนนหนทางที่ถูกถมทับดัดแปลงไปอย่างไร น้ำก็จะหาทางไปจนได้ แม้จะทำให้เกิดความเสียหายต่อสิ่งที่เขาพัดผ่าน

ย้อนกลับมาสู่พิบัติภัย ปีนี้น้ำท่วมบ้านผมในเวลากลางคืน ประมาณหนึ่งทุ่มวันที่ 1 พ.ย.ผมยังยืนอยู่บนสะพานคลองอู่ตะเภา ธงเหลืองยังไหวสะบัด ผมเชื่อว่าตนเองพร้อมที่จะรับอุทกภัย ข้าวปลาอาหาร น้ำดื่ม น้ำใช้ ข้าวของสำคัญอยู่ในที่ๆปลอดภัย ประสบการณ์เดิมทำให้เตรียมตน แต่ประสบการณ์เดิม เชื่อว่าเราจะมีเวลาอีก 5-8 ชม.สำหรับน้ำท่วมถึง และอีกสักหนึ่งวัน หากจะเป็นน้ำท่วมใหญ่แบบปี 2543 เมื่อเดินกลับบ้านซึ่งห่างจากคลองประมาณสามร้อยเมตร ร้านรถเข็นขายไก่ทอดกำลังเก็บร้าน บอกอีกหนึ่งชั่วโมงจะมีการปล่อยน้ำ สองทุ่มผมช่วยภรรยาเก็บของที่ควรเก็บไว้ที่สูง ของสำคัญทยอยขึ้นชั้นสอง อีกหนึ่งชั่วโมงต่อมาน้ำสูงถึงอก เกินที่ประมาณไว้ ของที่พอเก็บได้เริ่มทยอยขึ้นชั้นบน และสามทุ่มไฟฟ้าก็ดับลง แม้ว่าผมจะพอมีเทียนส่องสว่าง และยังคงทยอยขยับสิ่งของที่พอจะขึ้นชั้นสองได้ จนเมื่อเที่ยงคืนมาถึงและน้ำท่วมสูงเกินกว่าจะยืนได้ การพยายามจัดการช่วยเหลือทรัพย์สินที่ต้องจมอยู่ใต้น้ำก็ยุติลง อีกสามชั่วโมงต่อมาน้ำท่วมในบ้านผมกว่าสองเมตร ในชุมชนเดิมด้านหลังบ้านสูงกว่าสามเมตร และผมได้กลับไปสู่ห้วงคิดคำนึงถึงอดีตที่ยังคงชัดเจนถึงพิบัติภัยที่คนทั้งหลายได้ร่วมทุกข์ร่วมกัน หลายชีวิตคงจมอยู่ในภัยพิบัติอันยากลำบากและหนาวเหน็บ จากบ้านชั้นเดียวหรือสองชั้นที่น้ำท่วมถึงสู่หลังคากลางสายฝนและความหนาวเย็น แม้ว่าผมจะเชื่อมั่นถึงวุฒิภาวะของคนหาดใหญ่ในภัยพิบัติที่เราได้ประสบมาชั่วอายุขัยของเรา แต่ในหมู่ชนทั้งหลายที่ได้มาอาศัยอยู่ในหาดใหญ่ คงยากที่จะหลีกหนีความทุกข์เข็ญจากภัยในครั้งนี้

ผมคงจะอยู่ที่หาดใหญ่ต่อไปเช่นเดียวกับคนหาดใหญ่อีกมากมาย สิ่งที่ต้องเปลี่ยนไปคืออยู่แบบใดให้สอดคล้องกับธรรมชาติ โจทย์ที่ยากคือแล้วธรรมชาติจะเป็นแบบใด ในเมื่อมีความพยายามดัดแปลงธรรมชาติจนเรายากจะเข้าใจว่าธรรมชาติจะเลือกใช้วิธีใดที่จะสั่งสอนให้มนุษย์ได้รู้จักและเข้าใจวิถีแห่งธรรมชาติ อีกสองปีข้างหน้าจะเป็นรอบที่น้ำท่วมใหญ่อีกครั้ง ผมนั่งลงคิด พิจารณา และ ทบทวนอย่างจริงจัง หวังว่าตัวเองจะแสวงหาวิถีที่จะดัดแปลงตนเองให้รับมือกับหาดใหญ่ที่ถูกดัดแปลง และดัดแปลงตนเองให้รับมือกับความเชี่ยวกรากของสายน้ำ ที่ธรรมชาติจะมาให้บทเรียนใหม่ๆในอนาคตอันใกล้มาถึงในไม่ช้า

                                                                                                                 พฤศจิกายน 2553

 

 

สมัครรับข่าวความเคลื่อนไหวจากประชาไท ผ่านทางอีเมล ดูรายละเอียดที่ http://groups.google.com/group/prachatai-newspaper

"โรเบิร์ต อัมสเตอร์ดัม" เยี่ยมนักโทษการเมือง จวกเรือนจำไทยตกมาตรฐานสากล

Posted: 11 Oct 2011 09:06 AM PDT

11 ต.ค.54  นายโรเบิร์ต อัมสเตอร์ดัม ทนายความส่วนตัวของพ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี และนายคารม พลทะกลาง ทนายความกลุ่มแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.) ได้เข้าเยี่ยมกลุ่มจำเลยในคดีความผิดต่อความมั่นคงแห่งรัฐ กรณีหมิ่นสถาบันเบื้องสูง ซึ่งถูกคุมขังระหว่างการพิจารณาคดี ประกอบด้วย นายสมยศ พฤกษาเกษมสุข แกนนำกลุ่ม 24 มิถุนาประชาธิปไตย นายสุรชัย แซ่ด่าน แกนนำกลุ่มแดงสยาม นางสาวดารณี ชาญเชิงศิลปกุล หรือดาตอร์ปิโด โดยใช้เวลาเยี่ยมประมาณ 3 ชั่วโมง ก่อนเดินทางต่อไปยังสำนักงานคณะกรรมการ คอป.ศูนย์ราชการ แจ้งวัฒนะ เพื่อประสานขอข้อมูลเกี่ยวกับคดีคนเสื้อแดง โดยมีกำลังตำรวจดูแลความปลอดภัยอย่างใกล้ชิด และมีกลุ่มคนเสื้อแดงที่ทราบข่าวได้เดินทางมาให้กำลังใจคณะของนายโรเบิร์ต อัมสเตอร์ดัม บริเวณหน้าเรือนจำหลายคน 

นายอัมสเตอร์ดัม กล่าวว่า การเข้าเยี่ยมผู้ต้องขังในเรือนจำต่างๆ เพื่อรวบรวมข้อมูลทางคดีของแต่ละคนเพื่อนำไปประกอบสำนวนคดีการเสียชีวิต 91 ศพ ที่อยู่ในศาลอาญาระหว่างประเทศ ทั้งนี้ จากการได้พบเห็นสภาพความเป็นอยู่ในเรือนจำของไทย พบว่า ยังไม่ได้มาตรฐานสากล เรือนจำควรจะเร่งพัฒนาและปรับปรุงสภาพความเป็นอยู่ของนักโทษการโดยเร็ว หากไม่เปลี่ยนแปลงจะเป็นภาพสะท้อนที่ไม่ดีของประเทศไทย นอกจากนี้ยังเห็นว่าอัยการของประเทศไทยพยายามทำให้กลุ่มผู้ต้องขังท้อแท้และยอมรับสารภาพ ซึ่งเป็นสถานการณ์ที่ต้องมีการเปลี่ยนแปลง โดยตนจะทยอยเดินทางเข้าพบผู้ต้องขังเสื้อแดงในต่างจังหวัดด้วย

นายคารม กล่าวว่า นายอัมสเตอร์ดัม ได้เข้าเยี่ยมผู้ต้องหาที่ถูกดำเนินคดีกระทำผิดตามมาตรา 112 โดยข้อมูลที่ได้ในครั้งนี้ก็จะนำไปประกอบสำนวนคดีที่ยื่นฟ้องต่อศาลโลก โดยนายอัมสเตอร์ดัม จะอยู่เก็บข้อมูลจากผู้ต้องขัง และจากญาติผู้เสียชีวิตในเมืองไทย ประมาณ 2 สัปดาห์ จากนั้นก็จะเดินทางกลับ นอกจากนี้นายอัมสเตอร์ดัมยังให้ความสนใจข้อมูลเกี่ยวกับกลุ่มนิติราษฎร์ด้วย 

 

 

ที่มา: เนชั่่นทันข่าว, เอ็มไทย

สมัครรับข่าวความเคลื่อนไหวจากประชาไท ผ่านทางอีเมล ดูรายละเอียดที่ http://groups.google.com/group/prachatai-newspaper

โสเภณีถูกกฎหมาย ช่วยปราบทุจริต รักษาศีลธรรม

Posted: 11 Oct 2011 09:02 AM PDT

โสภณ พรโชคชัย เปิดประเด็นท้าทาย "สังคมจะยิ่งสงบสุขมากขึ้น เพราะ ‘ซาตาน’ ไม่อาจอยู่ในที่สว่าง  มาช่วยกันรณรงค์ให้โสเภณีเป็นอาชีพที่ถูกต้องตามกฎหมายกันเถอะ" 

ในประเทศไทย โสเภณีเป็นอาชีพที่ผิดกฎหมาย แต่กลับมีผู้ประกอบอาชีพนี้อยู่มากมาย  มีสถานค้าประเวณีอยู่เป็นจำนวนมากในรูปแบบสถานอาบอบนวด ร้านคาราโอเกะ ฯลฯ  ศีลธรรมคือข้ออ้างสำคัญที่ทำให้อาชีพนี้ผิดกฎหมาย  แต่การที่ทำให้อาชีพนี้ผิดกฎหมาย กลับเป็นการทำลายศีลธรรมอย่างถึงแก่น และกลายเป็นการปกป้องกลุ่มอิทธิพลบางกลุ่มให้สามารถทำอาชีพนี้อย่างเป็นล่ำเป็นสัน

ในทางตรงกันข้าม อาชีพโสเภณีกลับถูกกฎหมายในยุโรปตะวันตกนับสิบประเทศ โดยเฉพาะประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ซึ่งเป็นประเทศที่เจริญ น่าอยู่และโปร่งใสที่สุดแห่งหนึ่งของโลกนั้น  อาชีพโสเภณีเป็นอาชีพที่ต้องได้รับใบอนุญาต ผู้ให้บริการเสียภาษีถูกต้อง  ลูกค้าสามารถจ่ายผ่านบัตรเครดิตได้ด้วย  น่าแปลกแท้ ๆ ประเทศที่ประชาชนมีจริยธรรมสูงส่ง มีวินัยดีเยี่ยม มีคุณภาพชีวิตและการศึกษาชั้นยอด กลับเปิดกว้างสำหรับอาชีพโสเภณีอย่างถูกกฎหมาย

เฉพาะในสวิตเซอร์แลนด์ มีโสเภณี 14,000 คน สร้างรายได้ได้ประมาณ 118,055 ล้านบาทต่อปี (3.5 พันล้านสวิสฟรังค์) ผู้ชายระหว่างอายุ 20-65 ปี (อายุเฉลี่ย 33 ปี) จำนวน 350,000 คน (20% ของชายในวัยนี้ทั้งหมด) เคยใช้บริการอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง  ประชากรสวิตเซอร์แลนด์มี 7.6 ล้านคน แสดงว่ามีโสเภณีประมาณ 1 คนต่อประชากรชาย 271 คน (โดยสมมติให้ประชากรหญิงมีเท่ากับชาย)  หากใช้สถิตินี้มากับกรณีประเทศไทยที่มีประชากร 66.7 ล้านคน ก็อาจอนุมานได้ว่าไทยมีโสเภณีถึง 246,125 คน

การเปิดกว้างและสร้างความโปร่งใสให้เป็นอาชีพที่อยู่ภายใต้การควบคุมตามกฎหมายคล้ายอาชีพวิศวกร สถาปนิก แพทย์ ช่างก่อสร้าง ช่างตัดผม ฯลฯ ก็เพื่อคุ้มครองผู้บริโภค  โสเภณีที่ได้รับการควบคุมการประกอบอาชีพสามารถโฆษณา หรือติดต่อธุรกิจผ่านทางโทรศัพท์ หรือจัดหาสถานที่ ๆ เหมาะสมเพื่อการทำธุรกิจ  ทางราชการสามารถจัดโปรแกรมการฝึกอบรมความรู้ การออมทรัพย์ การใช้เงิน การวางแผนความมั่งคั่งในอนาคของผู้ให้บริการ  รวมทั้งการอบรมผู้ใช้บริการให้อยู่ในกรอบกฎหมายโดยเคร่งครัด

ว่ากันว่าโสเภณีเป็นอาชีพที่เก่าแก่ที่สุดในโลก  โดยนับย้อนไปถึงยุคเมโสโปเตเมียซึ่งเป็นหนึ่งในสังคมอารยธรรมยุคแรกๆ ของมนุษยชาติ  ในกรณีประเทศไทยมีบันทึกไว้ตั้งแต่สมัยพระเจ้าอู่ทอง ครั้งต้นกรุงศรีอยุธยา และไม่ได้ถือว่าเป็นอาชีพที่ผิดกฎหมาย  ในช่วงปลายรัชกาลที่ 5 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ก็มีการตราพระราชบัญญัติป้องกันสัญจรโรค รัตนโกสินทร์ศก 127 (พ.ศ.2451) เพื่อมุ่งแก้ไขปัญหาโรค  แต่ก็ไม่ได้ทำให้อาชีพนี้ผิดกฎหมาย  กฎหมายนี้มีความตอนหนึ่งว่า “(สถานค้าประเวณี) ต้องมีโคมแขวนไว้หน้าโรงเป็นเครื่องหมาย . . .”  กฎหมายฉบับนี้ยังบัญญัติให้โสเภณีต้องได้รับอนุญาตจากเจ้าพนักงาน มีการจัดทำบัญชีรายชื่อ และมีข้อห้ามการบังคับล่อลวงหญิงมาเพื่อค้าประเวณี เป็นต้น  ว่ากันว่าตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 4 จนถึงก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2 สถานค้าประเวณีมีอยู่ทั่วไปแทบทุกหัวระแหง

ในบางศาสนา ศาสดาก็ไม่ได้รังเกียจโสเภณี  และโสเภณีก็มีโอกาสขึ้นสู่สรวงสวรรค์หรือบรรลุธรรมเช่นกัน  เพียงแต่สถานค้าประเวณีถือเป็นสถานที่ ‘อโคจร’ สำหรับนักบวช  ยิ่งกว่านั้นนักบุญบางท่านถึงกับมองว่าโสเภณีช่วยแก้ปัญหาความแตกแยกในครอบครัวจากการมี ‘มากชู้หลายผัว’  ในพุทธศาสนา ก็มีภิกษุณีที่อดีตเป็นโสเภณีเช่นกัน  นอกจากนี้ในสมัยโบราณยังยกย่องโสเภณีเป็น ‘หญิงงามเมือง’ เป็นอาชีพที่มีเกียรติ และมีศักดิ์ศรีในสังคม  แต่ในปัจจุบันอาชีพนี้เป็นอาชีพที่ผิดกฎหมาย และกลายเป็นแหล่งทำเงินสำหรับกลุ่มอิทธิพลบางกลุ่ม

ในขณะที่โสเภณีเป็นอาชีพผิดกฎหมาย แต่รัฐกลับปล่อยให้มีการเปิดสถานค้าประเวณีกันมากมายนั้น ย่อมเป็นเพราะผู้ประกอบอาชีพต้อง ‘ส่งส่วย’ แก่ผู้รักษากฎหมายในระดับต่าง ๆ  เป็นการสร้างอาชีพและความมั่งคั่งแก่กลุ่มอิทธิพลบางกลุ่มที่ประกอบการค้าประเวณี  กลุ่มอิทธิพลกลุ่มนี้ร่วมกับเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องย่อมขยายอิทธิพลกว้างขวางไปได้เรื่อย ด้วยเงินจำนวนมหาศาลจากการลอบประกอบอาชีพที่ผิดกฎหมายนี้  ย่อมทำให้สุจริตชนถูกเบียดเบียนหรือไม่สามารถแข่งขันได้อย่างเสรี

ในทางตรงกันข้ามหากสามารถทำให้อาชีพนี้ถูกกฎหมาย ก็จะเป็นการทะลายขุมทรัพย์ ‘ตัดท่อน้ำเลี้ยง’ ของเหล่าผู้มีอิทธิพล  ถือเป็นยุทธศาสตร์สำคัญในการปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการอย่างครบวงจร  ช่วยให้ผู้ประกอบอาชีพโสเภณีมีรายได้มากขึ้น ไม่ถูกขูดรีดโดยผู้มีอิทธิพล  รัฐมีรายได้จากภาษีอากรในการให้การศึกษาประชาชนในเรื่องนี้ และนำเงินมาพัฒนาประเทศได้มากขึ้น  สุจริตชนไม่ถูกรังแกจากผู้มีอิทธิพล  ผู้บริโภคได้รับการคุ้มครองตามกฎหมาย  และสวัสดิภาพสังคมของประชาชนทั่วไปจะดีขึ้น  และศีลธรรมจรรยาของประชาชนทั่วไปก็จะมีความมั่นคงมากขึ้นเช่นกัน

การเปิดให้โสเภณีเป็นอาชีพที่ถูกต้องตามกฎหมาย จะไม่ยิ่งส่งเสริมให้อาชีพนี้ระบาด เพราะในปัจจุบันก็มีสถานค้าประเวณีอยู่ทั่วไปอยู่แล้ว  แต่การที่ต้อง ‘ส่งส่วย’ หรือ ‘เสียค่าคุ้มครอง’ เช่นในปัจจุบันต่างหากที่ผู้ประกอบอาชีพนี้ต้องทำงานหนักมากขึ้นเพื่อผลิตและส่งต่อเงินนอกระบบเหล่านี้  แต่หากอาชีพนี้ถูกกฎหมาย และได้รับการคุ้มครองที่ดี  อาจยิ่งช่วยจำกัดการประกอบอาชีพที่ขาดความรับผิดชอบ  กลายเป็นอาชีพที่เน้นคุณภาพมากกว่าปริมาณ

สังคมจะยิ่งสงบสุขมากขึ้น เพราะ ‘ซาตาน’ ไม่อาจอยู่ในที่สว่าง  มาช่วยกันรณรงค์ให้โสเภณีเป็นอาชีพที่ถูกต้องตามกฎหมายกันเถอะ

 


อ้างอิง
จรูญ วรรธนะสิน. โสเภณี อาชีพที่เก่าแก่ที่สุดในโลก http://www.tuneingarden.com/work/b-04sn08.shtml

20 Minutes Online. Qui sont les clients des prostitutes?  http://www.20min.ch/ro/news/vaud/story/15213957

What Does Jesus Think About Prostitution? http://whatdoesgodthinkaboutprostitution.blogspot.com

Prostitution in Europe. http://en.wikipedia.org/wiki/Prostitution_in_Europe

Prostitution. http://en.wikipedia.org/wiki/Prostitution

สมัครรับข่าวความเคลื่อนไหวจากประชาไท ผ่านทางอีเมล ดูรายละเอียดที่ http://groups.google.com/group/prachatai-newspaper

พม่าเตรียมปล่อยนักโทษกว่า 6 พันคนในวันพุธนี้

Posted: 11 Oct 2011 08:06 AM PDT

สถานีโทรทัศน์ของพม่าประกาศว่าทางรัฐบาลพม่าเตรียมปล่อยตัวนักโทษอีก 6,359 คน ในวันพุธที่จะถึงนี้ โดยในจำนวนนี้จะมีนักโทษการเมืองอย่างนักแสดงตลก "ซาร์กานาร์" และผู้นำกองทัพรัฐฉานเหนือวัย 75 ปีรวมอยู่ด้วย อย่างไรก็ตามยังไม่มีรายละเอียดว่า จำนวนตัวเลขนักโทษการเมืองที่จะได้รับการปล่อยตัวตามแผนนิรโทษกรรมในครั้งนี้มีกี่คน

ตามรายงานระบุว่า นักโทษที่จะได้รับการปล่อยตัวครั้งนี้ ประกอบด้วยนักโทษสูงวัย นักโทษที่พิการทางร่างกายและมีปัญหาด้านสุขภาพ  ขณะที่มีการคาดการณ์กันว่า นักโทษการเมืองเป็นจำนวนมากน่าจะได้รับการปล่อยตัวในครั้งนี้ เช่นนักแสดงตลกซาร์กานาร์ เจ้าเสือแท่น วัย 75 ปี ผู้นำกองทัพรัฐฉานเหนือ (Shan State Army-North) ซึ่งถูกตัดสินจำคุกเป็นเวลา 106  ปี เป็นต้น

แม้จะยังไม่มีรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องนี้ แต่แหล่งข่าวของรัฐบาลเปิดเผยกับสำนักข่าวเอพีว่า  นักโทษที่จะได้รับการปล่อยตัวครั้งนี้ มีนักโทษการเมืองบางส่วนรวมอยู่ด้วย  ขณะที่นับตั้งแต่ประธานาธิบดีเต็งเส่งขึ้นมารับตำแหน่ง ได้นิรโทษกรรมนักโทษแล้วกว่า 2 หมื่นคน อย่างไรก็ตาม จำนวนนักโทษการเมืองที่ได้รับการปล่อยตัวนั้นยังพบว่าน้อยมา

ขณะที่แผนนิรโทษกรรมครั้งนี้เกิดขึ้น หลังคณะกรรมมาธิการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติของพม่า ซึ่งแต่งตั้งโดยรัฐบาลได้เรียกร้องไปยังประธานาธิบดีเต็งเส่งให้ปล่อยตัวนัก โทษที่มีความประพฤติดี ส่วนนักโทษการเมืองในพม่าขณะนี้มีอยู่ราว 2 พันกว่าคน ซึ่งในจำนวนนี้พบว่ามีนักเคลื่อนไหว พระสงฆ์ แม่ชี นักข่าวและบล็อกเกอร์รวมอยู่ด้วย

 
แปลและเรียบเรียงโดย สาละวินโพสต์ "สื่อทางเลือกเพื่อแบ่งปันความเข้าใจสู่เพื่อนบ้าน"อ่านข่าวและบท ความอื่นๆ อีกมากมายได้ที่เว็บไซต์ www.salweennews.org เฟซบุ๊คhttp://www.facebook.com/Salweenpost ทวิตเตอร์ http://twitter.com/salweenpost
สมัครรับข่าวความเคลื่อนไหวจากประชาไท ผ่านทางอีเมล ดูรายละเอียดที่ http://groups.google.com/group/prachatai-newspaper

ยิ่งลักษณ์-อภิสิทธิ์หารือเรื่องน้ำท่วม

Posted: 11 Oct 2011 07:32 AM PDT

ยิ่งลักษณ์เชิญอภิสิทธิ์เข้าหารือเรื่องแก้น้ำท่วม ระหว่างอภิสิทธิ์เข้าเยี่ยมศูนย์ ศปภ. ที่ดอนเมือง โดยเสนอให้เปิดอาคารคาร์โก้ที่ดอนเมืองที่มีเนื้อที่กว่า 70,000 ตร.ม. เป็นศูนย์รองรับผู้อพยพ

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ เยี่ยมอาสาฯ Thaiflood ที่ ศปภ. ดอนเมือง (ที่มาของภาพและคำบรรยายภาพ: เฟซบุคอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ)

นาย อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ พบ ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี หารือแนวทางช่วยอุทกภัย ที่ ศปภ. ดอนเมือง (ที่มาของภาพและคำบรรยายภาพ: เฟซบุคอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ)

นาย อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ พบ ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี หารือแนวทางช่วยอุทกภัย ที่ ศปภ. ดอนเมือง (ที่มาของภาพและคำบรรยายภาพ: เฟซบุคอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ)

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ กับ อธิบดีกรมชลฯ หารือแนวทางช่วยอุทกภัย ที่ ศปภ. ดอนเมือง (ที่มาของภาพและคำบรรยายภาพ: เฟซบุคอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ)

ไทยรัฐออนไลน์ รายงานว่า เมื่อเวลา 12.00 น. วันที่ 11 ต.ค. ระหว่างที่ น.ส.ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี กำลังหารือกับเจ้าหน้าที่ศูนย์ปฏิบัติการช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย (ศปภ.) เพื่อติดตามสถานการณ์น้ำท่วมนั้น น.ส.ยิ่งลักษณ์ได้พบกับ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ และผู้นำฝ่ายค้าน ที่ได้เดินทางไปตรวจเยี่ยมประชาชนที่เป็นอาสาสมัครช่วยงานบรรเทาทุกข์น้ำท่วม

โดย น.ส.ยิ่งลักษณ์ ได้เดินออกจากห้องประชุมไปหานายอภิสิทธิ์ เพื่อเชิญเข้าร่วมประชุมกับ ศปภ. เนื่องจากก่อนหน้านี้นายอภิสิทธิ์ ได้เดินทางไปเยี่ยมประชาชนที่ประสบอุทกภัยที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต โดยนายอภิสิทธิ์ ได้เสนอให้ น.ส.ยิ่งลักษณ์ พิจารณาเปิดอาคารคลังสินค้าที่มีเนื้อที่ 70,000 ตารางเมตร เพื่อเตรียมรองรับผู้อพยพ ซึ่งถูกน้ำท่วมในจังหวัดใกล้เคียง โดย น.ส.ยิ่งลักษณ์ รับปากว่า จะเอามารองรับ

จากนั้นายอภิสิทธิ์ เข้าหารือกับ น.ส.ยิ่งลักษณ์ ที่ห้องรับรองพิเศษภายในอาคาร โดยมี พล.ต.อ.ประชา พรหมนอก รมว.ยุติธรรม และในฐานะ ผอ.ศปภ. นายยงยุทธ วิชัยดิษฐ รองนายกฯ และรมว.มหาดไทย พล.อ.อ.สุกำพล สุวรรณทัต รมว.คมนาคม นายอลงกรณ์ พลบุตร นายศิริโชค โสภา ร่วมประชุม โดยใช้เวลาหารือร่วมกันเกี่ยวกับการแก้ปัญหาเรื่องน้ำนานประมาณ 20 นาที โดยตอนที่นายอภิสิทธิ์เดินทางกลับนายยงยุทธ ได้เดินมาออกมาส่งที่หน้าอาคารดังกล่าวด้วย

สมัครรับข่าวความเคลื่อนไหวจากประชาไท ผ่านทางอีเมล ดูรายละเอียดที่ http://groups.google.com/group/prachatai-newspaper

สงครามน้ำ: ละคร Cultural Soup สะท้อนหายนะโลก

Posted: 11 Oct 2011 04:47 AM PDT

เมื่อวันที่ 7-9 ตุลาคม 2554 ที่ผ่านมา ณ โรงละครมะขามป้อม อ.เชียงดาว จ.เชียงใหม่ มูลนิธิสื่อชาวบ้าน(มะขามป้อม) และภาคีร่วมจัด : ภาควิชาศิลปะการละคร คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีการจัดกิจกรรม “ละครเปลี่ยนแปลงสังคมได้จริงหรือ?”

โดยในค่ำคืนแรกนั้น มีการแสดง Cultural Soup จากศิลปินร่วม 20 ชาติ ได้แก่ เยอรมัน สหรัฐอเมริกา ชิลี ฮอลแลนด์ นิวซีแลนด์ ออสเตรเลีย ติมอร์ฯ ญี่ปุ่น เกาหลี ไต้หวัน จีน อินเดีย พม่า กัมพูชา ลาว มาเลเซีย อังกฤษ สิงคโปร์ ฮ่องกง และไทย

ที่น่าสนใจก็คือ หลายคนหลายเชื้อชาติได้พร้อมใจกันเลือกประเด็นที่ต้องการนำเสนอในเรื่อง ‘สงครามน้ำ’ ซึ่งเป็นการแสดงที่สะท้อนให้เห็นถึงปัญหาหายนะภัยที่กำลังเกิดขึ้นกับทุกพื้นที่ ทุกประเทศ ในโลกใบนี้...

ที่น่าสนใจก็คือ การแสดงเรื่องนี้ เป็นการรวมศิลปะการแสดง 5 สไตล์ ทั้งลิเก,หุ่นเงา,หน้ากากและ Clown,กายกรรม และ Physical Theatre มาหลอมรวม ในเรื่องเดียว ประเด็นเดียวกัน

สงครามน้ำ : ละคร Cultural Soup สะท้อนหายนะโลก

สงครามน้ำ : ละคร Cultural Soup สะท้อนหายนะโลก

สงครามน้ำ : ละคร Cultural Soup สะท้อนหายนะโลก

สงครามน้ำ : ละคร Cultural Soup สะท้อนหายนะโลก

สงครามน้ำ : ละคร Cultural Soup สะท้อนหายนะโลก

 

เรามาลองดูเนื้อเรื่องย่อ ของเรื่องนี้กัน…

น้ำแล้ง น้ำท่วม แผ่นดินไหว ไฟป่า...

...เกิดสิ่งผิดปกติขึ้นบนโลกอันแสนสงบสุขนี้แล้วสถานการณ์เริ่มตึงเครียด
และตัวการของความวุ่นวายทั้งหมดก็คือ น้ำ

ไม่ใช่แค่ปัญหาแต่เป็นวิกฤตการณ์ หรืออาจจะไม่ใช่แค่วิกฤติการณ์
แต่มันอาจจะเป็นหายนะของโลก

น้ำ

คนกลุ่มหนึ่ง พยายามหาทางแก้ไขปัญหา

เราต้องจัดประชุมโดยด่วน!

สมาชิกการประชุมเสนอว่า “ปัญหาเกิดขึ้นเพราะประเทศต่างๆ ที่โลภโมโทสัน เอาทรัพยากรน้ำไปใช้อย่างไม่รู้คุณค่า ทำให้ผู้คนต้องตกยาก...”

น้ำ

ว่าแล้วก็เล่าเรื่อง ...

“มีเรื่องเล่าก่อนนอนของออสเตรเลียเกี่ยวกับกบตัวหนึ่งที่ชื่อ ทิดดาลิก มันเป็นกบตัวใหญ่ ที่สุดในโลก ดื่มน้ำไปจนหมดโลก ทำให้สัตว์อื่นๆ ในโลกต้องช่วยกันคิดหาวิธีแก้ไขปัญหานี้...”

การถกเถียงในวงประชุมยังคงดำเนินไปอย่างดุเดือด เมื่อมีผู้เข้าร่วมเสนอว่า “เป็นเพราะสังคมเราทุกวันนี้เรามองโลกแคบเกินไปในประเด็นการแก้ปัญหาเรื่องน้ำ เราควรจะมีวิสัยทัศน์กว้างกว่านี้ ใช้ปัญญาให้มากกว่านี้”

น้ำ

ว่าแล้วก็เล่าเรื่อง...

“ลุงฮามากุจิเป็นผู้ที่มีปัญญาฉลาดหลักแหลม คนทั่วไปอาจนึกไม่ถึงหรือไม่รู้เท่าทัน จนกระทั่งมันสายเกินไป เรื่องของลุงเป็นตัวอย่างการใช้ปัญญานำทางในโลกที่กำลังเปลี่ยนแปลงใบนี้...”

น้ำ

ผู้เข้าร่วมประชุมคนหนึ่งออกอาการขัดแย้งกับแนวคิดดังกล่าว แต่เสนอว่า “มันเป็นเรื่องเหนือธรรมชาติ ภัยพิบัติที่เกิดขึ้นนั้นเป็นบทเรียนที่ธรรมชาติสั่งสอนเรา เป็นบทลงโทษในสิ่งที่เราได้ทำกับโลกไว้...”

ว่าแล้วก็เล่าเรื่อง...

“พูดแบบนี้ทำให้นึกถึงแม่ธรณีถ้าได้ฟังเรื่องราวของแม่ธรณี แล้วก็จะรู้ว่าเรื่องน้ำท่วมเนี่ย มันไม่ใช่แค่การลงโทษธรรมดาหรอกนะ แต่มันเป็นจุดสำคัญเรื่องการตรัสรู้ของพระพุทธเจ้าเลยทีเดียว”

น้ำ

ผู้เข้าร่วมประชุมอีกคนหนึ่งยืนขึ้นถาม “แล้วเราต้องทำอะไรล่ะ?”

“เราต้องเรียนรู้จากเรื่องของมังกรทั้งสี่ แม่น้ำใหญ่สี่สายของเมืองจีนนะ มีคติสอนใจอยู่นะ เหล่ามังกรมองเห็นหนทางว่าต้องทำยังไง และต้องใช้ความกล้ามากเลยทีเดียว ในที่สุดก็ต้องเสียสละตัวเองด้วย คุณพร้อมจะทำแบบนั้นหรือเปล่าล่ะ”

ผู้เข้าร่วมทั้งหมดเห็นพ้องต้องกัน และพยายามช่วยกันคิดหาทางแก้ปัญหาเพื่อต่อสู้กับ น้ำ

“ฉันนึกแผนการใหญ่ออกแล้ว” ผู้เข้าร่วมคนหนึ่งพูดขึ้น...

ท่ามกลางวิกฤติ ท่ามกลางปัญหา สมาชิกทุกคนกำลังปั่นป่วน และหาทางออกในการแก้ไขปัญหากันอยู่นั้น มองออกไปข้างๆ ในแสงสลัวราง มีร่างคนๆ หนึ่ง อยู่ตรงนั้น... แต่ร่างของเขา ทั้งมือ แขน ขา ลำตัวนั้นถูกเชือกผูกมัดโยงล่ามไว้ ทำให้เดินเหินได้ไม่สะดวก เขาพยายามจะป้องปากตะโกนบอก...

“มันมีคำตอบสำหรับเรื่องนี้...มันมีคำตอบสำหรับเรื่องนี้...”

น้ำ

แต่สมาชิกเหล่านั้น กลับไม่ได้ยินเสียง ไม่ได้สนใจที่จะสดับฟัง...ทว่าพากันลุกหนีหายไปเสีย

ผู้ชมหลายคน ครุ่นคิด ตีความหมายที่นักแสดงหลายคนต้องการสื่อ
ห้วงขณะนั้น มีผู้ชมคนหนึ่งนั่งดูละครอยู่ข้างๆ กระซิบบอก...

“หรือว่าชายที่ถูกเชือกผูกมัดชักโยงอยู่นั้นคือตัวแทนของสันติสุข คือรากเหง้าภูมิปัญญาดั้งเดิม...ที่พยายามจะบอกกล่าวผู้คน สมาชิกในโลกให้หันกลับไปค้นหาคำตอบในชุมชนของตัวเอง...แต่พวกเขาหลงลืม ไม่ได้ยิน”

“มันมีคำตอบสำหรับเรื่องนี้...มันมีคำตอบสำหรับเรื่องนี้...” เสียงตัวละครตัวสุดท้ายแผ่วครวญ...

แสงไฟในโรงละครดวงสุดท้ายดับลง…
ในขณะที่ประเทศไทย กำลังกลายเป็นเมืองน้ำ!

สมัครรับข่าวความเคลื่อนไหวจากประชาไท ผ่านทางอีเมล ดูรายละเอียดที่ http://groups.google.com/group/prachatai-newspaper

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น